Microsoft PowerPoint - ๕ฎื๛à¸�หา ทม 100_à¸ıชชี๋ 3_็ทรà¸⁄สร๛าà¸⁄à¸�à¸°à¸Łà¸�ม_1-63_๕พà¸−รลà¸flา ฆัฎชาà¸flี - ดาวน์โหลดหนังสือ | 1-30 หน้า (2024)


คม 100 เคมีทัวไป ปการศึกษา 1-2563

บทที่ 3

โครงสรางอะตอม

ผศ.ดร. เพชรลดา กนทาดี

สาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยแมโจ

http://www.chemistry.mju.ac.th

โครงสรางอะตอม
1) ประวัติความเปนมาของอะตอม

• กอนคริสตศักราช,

- Leukippos และ Demokritos เสนอวา


“อะตอมเปนสวนประกอบที่เล็กที่สุดของสสาร ทําลายและแบงแยกไมได”

อะตอม (atom) มาจากภาษากรีก คือ atomos ( a + tomos )

ไม + แบงแยกได 








- Aristotle เสนอวา “สสารสามารถแบงแยกใหเล็กลงไปไดเรอย ๆ ไมมทีสนสด”


• ค.ศ. 1803, John Dalton เสนอทฤษฎีอะตอมของดาลตัน




“อะตอมเปนหนวยทีเลกทีสดของสสาร แบงแยกตอไปอกไมได



สสารหรือธาตุตางชนิดกัน จะประกอบดวยอะตอมตางชนิดกัน และมีสมบัติตางกัน”
• ค.ศ. 1896, A.H. Becquerel









คนพบรงสทเปลงออกมาจากแรยเรเนยม  การเกิดกัมมันตภาพรังส (Radioactivity))
2




เนือหาประกอบการบรรยาย รายวชา คม 100 เคมทัวไป ผศ.ดร. เพชรลดา กนทาด ี

โครงสรางอะตอม
1) ประวัติความเปนมาของอะตอม

• ค.ศ. 1898, Pierre และ Marie Curie






คนพบการแตกตวของธาตกัมมนตรงสีสองชนดออกมาจากแรยูเรเนยม คือ Polonium และ Radium

ถือเปนการลบลางแนวคิดเดมของดาลตัน ดงนน “อะตอมไมใชอนุภาคที่แบงแยกไมได”







• ค.ศ. 1897, J.J. Thomson ศึกษาหลอดรังสีแคโทด คนพบอิเล็กตรอน ซึงมประจุลบ
• ค.ศ. 1909, R.A. Milligan ใหอิเล็กตรอนเกาะติดกับหยดน้ํามัน คํานวณมวลของอิเล็กตรอน



ได 9.11 x 10 31 กิโลกรัม และประจุอเลกตรอนเทากับ 1.60 x 10 19 คูลอมบ

• ค.ศ. 1911, E.R. Rutherford คนพบโปรตอน ซึ่งมีประจุบวก

และเสนอแบบจาลองอะตอมทีมนิวเคลียส



• ค.ศ. 1913, Niels Bohr อธิบายโครงสรางอะตอมไฮโดรเจนโดยทฤษฎีควอนตัม

• ค.ศ. 1924, วิวัฒนาการของทฤษฎีกลศาสตรควอนตัมสําหรับอะตอมตาง ๆ

• ค.ศ. 1932, James Chadwick คนพบนิวตรอนซึ่งไมมีประจุ และมีมวลใกลเคียงกับโปรตอน

3

เนือหาประกอบการบรรยาย รายวชา คม 100 เคมทัวไป ผศ.ดร. เพชรลดา กนทาด ี



โครงสรางอะตอม
2) การคนพบรังสีแมเหล็กไฟฟา

• ค.ศ. 1895, W. Röntgen





ศึกษาหลอดรังสแคโทดทีเปนสญญากาศ (ไมมแกสภายใน) พบวา






- รงสแคโทดจะเคลือนจากขัวแคโทดและพงชนขัวแอโนดอยางแรง เกิดรงสทีมีพลังงานสงออกมา









จากแอโนด เรียกวา รงสเอ็กซ (X-ray)

- รงสเอ็กซ ไมมประจุ ทะลุผานกระดาษและไมได แตไมผานแผนโลหะ









• ค.ศ. 1911, E.R. Rutherford
คนพบรังสีแอลฟา, รังสีเบตา และรังสีแกมมา ซึ่งเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟา มีความถี่สูงกวารังสีเอ็กซ
• ค.ศ. 1913, Max von laue สนับสนุนการคนพบรังสีเอ็กซของ W. Röntgen
และพบวารังสีเอ็กซสามารถเกิดการเลี้ยวเบน (Diffraction) ไดเมื่อตกกระทบผลึกของแข็ง แสดงวา





รงสเอ็กซมสมบัตเปนคลืน

4


เนือหาประกอบการบรรยาย รายวชา คม 100 เคมทัวไป ผศ.ดร. เพชรลดา กันทาด ี

โครงสรางอะตอม
3) แบบจําลองอะตอม

• J.J. Thomson เสนอแบบจําลองอะตอม ดังนี้

-10



- อะตอมมรศมประมาณ 10 เมตร
- ภายในอะตอมมีอนุภาคประจุบวกและอิเล็กตรอนฝงอยูทั่วอะตอม ทําใหอะตอมไมมีประจ ุ

- น้ําหนักอะตอมสวนใหญเปนของประจุบวก เนื่องจากอิเล็กตรอนมีน้ําหนักเบามาก

• E.R. Rutherford (ค.ศ. 1911) ศึกษาการผานรังสีแอลฟาไปยังแผนโลหะบาง เชน ทองคํา พบวา












รงสแอลฟาสวนใหญทะลุผานอะตอมไป สวนรงสสวนนอยชนนวเคลยสและเกิดแรงผลกกับประจุบวกทาให


เบยงเบนไป จึงเสนอแบบจําลองอะตอมใหมดงน ้ ี


- อะตอมประกอบดวยอนุภาคประจุบวกรวมกันเปนกลุมเล็กๆ อยูกลางอะตอม เรียกวา
-14


นิวเคลียส และมรศมประมาณ 10 เมตร ซึ่งเล็กกวาขนาดอะตอมมาก




- อิเลกตรอนเคลอนทีรอบนวเคลยสและมจํานวนเทากับประจุบวก อะตอมจึงไมมีประจุ





• Niels Bohr (ค.ศ. 1913)
อธิบายโครงสรางอะตอมโดยใช ทฤษฎีควอนตัม
เสนอวาการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสมีลักษณะเปนวงกลม 5

โครงสรางอะตอม
4) ทฤษฎีควอนตัม





จดเริมตนของทฤษฎควอนตัม






- ถาใหความรอนแกวัตถมาก ๆ วัตถุจะเปลงรงสีออกมาทังในรปของความรอนและแสงทม ี










ความเขมสูง เชน เผาแทงเหลกใหรอนขึน สของแทงเหลกจะเปลยนแปลงจาก
สีคล้ํา  สีแดง  สีสม  สเหลือง สีขาว

- ค.ศ. 1900 Planck เสนอวา


“พลงงานทเปลงออกมาจากวัตถุรอนจะมคาเปนชวง ๆ และไมไดปลดปลอยออกมาอยาง





ตอเนอง เรียกวา ควอนตัมของพลังงาน” และคาพลังงานจะขึ้นอยูกับความถี่ของแสงนั้น ดังสมการ




E = h …….…(1)


(h = คาคงทของ Planck = 6.6262 x 10 34 J.s)

6
เนือหาประกอบการบรรยาย รายวชา คม 100 เคมทัวไป ผศ.ดร. เพชรลดา กนทาด ี




โครงสรางอะตอม
4) ทฤษฎีควอนตัม

Photoelectric Effect

- ค.ศ. 1905 Albert Einstein เสนอวา

“แสงควรมีสมบัติเปน อนุภาค และเรียกวา โฟตอน (Photon)”

และอาศัยทฤษฎีของ Planck สรุปวา

โฟตอนที่มีความถี่  จะมีพลังงาน E = h 

- เมื่อแสงที่มีความถี่เหมาะสมตกกระทบผิวหนาของโลหะ จะมีอิเล็กตรอนหลุดจากผิวโลหะ

เรียกวา โฟโตอิเล็กตรอน (Photoelectron)







photoelectron - ถาแสงตกกระทบมพลังงานมากเกินพอ พลงงานสวนเกนนน
photon จะทําใหโฟโตอิเล็กตรอนที่หลุดออกมาเคลื่อนที่ตอไปดวยพลังงานจลน
จํานวนโฟโตอิเล็กตรอน  จํานวนโฟตอนที่ตกกระทบ

 ความเขมของแสง

7

เนือหาประกอบการบรรยาย รายวชา คม 100 เคมทัวไป ผศ.ดร. เพชรลดา กันทาด ี


โครงสรางอะตอม
5) ทฤษฎีอะตอมของบอหร

(1) สเปกตรัมของไฮโดรเจน

- เมื่อใหความรอนแกอะตอมไฮโดรเจนมากพอ จะเห็นการเปลงแสง ซึ่งเมื่อแสงนี้ผานปริซึมพบวา










ประกอบดวยแสงสแดง เขยว นาเงิน และมวง แยกออกจากกันเปนเสน ๆ เรยงตามความถีหรือความ




ยาวคลน เรียกวา เสนสเปกตรมของไฮโดรเจนอะตอม อยในชวงทตามองเห็น (Visible region)






* แสงสีตาง ๆ เกิดจากการ

ยายระดับชนพลงงานของ


อิเล็กตรอน
ความยาวคลื่น (nm)

- ค.ศ. 1885 J.J. Balmer เสนอสูตรสําหรับคํานวณความยาวคลื่น ( ) ของเสนสเปกตรมไฮโดรเจน




1 1 1 * อิเลกตรอนยายระดบพลงงาน
 = R 4  n 2 ………..(2) ระหวางชั้นที่ 2 กับชันทีสูงขึนไป



7

เมื่อ R = คาคงทีของ Rydberg = 1.09678 x 10 m 1

n = 3, 4, 5, 6,………. 8

โครงสรางอะตอม
5) ทฤษฎีอะตอมของบอหร



- ตอมา J.R. Rydberg ไดเสนอสมการคํานวณความยาวคลืนของเสนสเปกตรัมทุกชุด ดังนี ้

1 1 1
= R  …..…..(3)
 n 1 2 n 2 2

เมื่อ n < n
2
1
อิเล็กตรอนยายระดับพลังงานระหวาง




ชั้นต่ํากวา (n ) และชันทีสูงขึนไป (n )
2
1
- จากสมการ 3 จะไดขอมูลวา

เมื่อ n = 1 และ n = 2, 3, 4,….. เสนสเปกตรัมจะตรงกับอนุกรม Lyman ( อยูชวง รังสี UV)
2
1
เมื่อ n = 2 และ n = 3, 4, 5,….. เสนสเปกตรัมจะตรงกับอนุกรม Balmer ( อยูชวง แสง Visible)
2
1
เมื่อ n = 3 และ n = 4, 5, 6,….. เสนสเปกตรัมจะตรงกับอนุกรม Paschen ( อยูในชวง รังสี IR)
1
2







นอกจากนี ยงม 2 ชดสเปกตรมที n = 4 และ n = 5 เสนสเปกตรัมจะตรงกับอนกรม


1
1
Brackett และ Pfund ตามลําดับ (ไมคอยกลาวถึง)
9

โครงสรางอะตอม
5) ทฤษฎีอะตอมของบอหร

ตัวอยาง 1 อิเล็กตรอนยายจากระดับชั้นที่ 1 ไปยังชั้นที่ 3 ตรง

กับความยาวคลื่นเทาใด

1 1 1
จากสูตร = R n 1 2  n 2 2

1
7
1
แทนคา = (1.09678 x 10 m ) 1 1 2  3 1 2

6
1
= 9.75 x 10 m
1



7

ดงนน  = 9.75 10 6 m = 1.03 x 10 m = 103 nm

(2) ทฤษฎีของ Bohr สําหรับไฮโดรเจนอะตอม

ค.ศ. 1913 Niels Bohr เสนอวา



การเคลอนทของอเลกตรอนรอบนวเคลยสมีลักษณะเปนวงกลม








และจากทฤษฎควอนตม จะเรยกชั้นพลงงานหรอวงโคจรของอเลกตรอนวา เลขควอนตัมหลัก






แทนดวย คา n มีคาตั้งแต 1, 2, 3,..…… 10

โครงสรางอะตอม
5) ทฤษฎีอะตอมของบอหร


• ระดับพลังงานของวงโคจรที n เรียกวา E n





n = 1 คือ พลงงานระดบตาสุด (E ) เรียกวา สถานะพื้น (ground state) อิเล็กตรอนเสถียรที่สุด

1
n > 1 คือ พลังงานระดับสูงขึ้นไป เรียกวา สถานะกระตุนหรือสถานะเรา (excited state) โดย


ถา n  , E  และไมเสถียร
n

-
-





เมื่อ e เปลยนระดบพลงงาน (เปลยนวงโคจร) ไปยังระดบทีสงขึน (n มากขึ้น) e จะดูดกลืนพลังงาน





-
-








เมื่อ e เปลยนระดบพลงงาน (เปลยนวงโคจร) ไปยังระดบทีตาลง (n ลดลง) e จะคายพลังงาน


• พิจารณาการเปลี่ยนระดับพลังงานระหวางวงโคจรที่ 1 (n = 1) และ 2 (n = 2)
ผลตางระหวางระดับพลังงานทั้งสอง, E
c
E = E ปลายทาง  E ตนทาง = h = h 
-
-
ถา e เปลี่ยนระดับจาก n = 1  n = 2 จะได E = + (e ดูดพลังงาน)
ถา e เปลี่ยนระดับจาก n = 2  n = 1 จะได E =  (e คายพลังงาน)
-
-
11

เนือหาประกอบการบรรยาย รายวชา คม 100 เคมทัวไป ผศ.ดร. เพชรลดา กันทาด ี


โครงสรางอะตอม
5) ทฤษฎีอะตอมของบอหร

ตัวอยาง 2 จงคํานวณความยาวคลื่นของอิเล็กตรอนที่เปลี่ยนระดับพลังงานจากชั้นที่ 2 ไปยังชั้นที่ 4






การเปลยนแปลงนีอิเล็กตรอนตองดดพลังงานหรอคายพลงงาน


19
กําหนดให E = 5.46 x 10 J และ E = 1.36 x 10 19 J
4
2
วิธีทํา E = E ปลายทาง – E ตนทาง = E  E = (1.36 x 10 )  (5.46 x 10 ) J
19
19
2
4
= 4.1 x 10 19 J (E = + , อิเล็กตรอนดูดพลังงาน)

E = 4.1 x 10 19 J = h 

h c
1
8
ดังนั้น  = = (6.63 x 10 34 J.s) (3.0 x 10 ms )
E
4.1 x 10 19 J

9
10 nm
7
= (4.85 x 10 m) x = 485 nm
m

12


เนือหาประกอบการบรรยาย รายวชา คม 100 เคมทัวไป ผศ.ดร. เพชรลดา กนทาด ี



โครงสรางอะตอม
5) ทฤษฎีอะตอมของบอหร






- Bohr เสนอสูตรการคํานวณระดับพลังงาน (E ) ของอิเลกตรอน สรปเปนสตรอยางงายไดดงน



n
2
2 4
2 m Z e 1
e
E = h 2 n 2 ………(5)
n

2.18 × 10 −18
E = n 2 …..…..(6)
n

เมื่อ m = มวลของอิเล็กตรอน = 9.11 x 10 28 กรัม
e
e = ประจุของอิเล็กตรอน = 1.60 x 10 19 คูลอมบ

Z = เลขอะตอมของไฮโดรเจน = 1


h = คาคงทของ Planck = 6.6262 x 10 34 จูล.วินาท ี

13


เนือหาประกอบการบรรยาย รายวชา คม 100 เคมทัวไป ผศ.ดร. เพชรลดา กนทาด ี



โครงสรางอะตอม
5) ทฤษฎีอะตอมของบอหร


- จากสูตร (6) อาจคํานวณคาพลงงานสําหรับ n = 1, 2, 3,….  และเขยนแผนภาพระดบ




พลงงานไฮโดรเจนอะตอมไดดงน ้ ี

n =  E = 0.00 J

n = 4 E =  1.36 x10 19 J

4
E n = 3 E =  2.42 x 10  19 J

3

n = 2 E =  5.45 x 10  19 J
2

n = 1 E =  2.18 x 10  18 J
1




นอกจากนี้ Bohr ไดเสนอสตรการหา รศมีวงโคจรของอิเลกตรอน ทีมเลขควอนตม n คือ



r = a n 2 = (0.529) n 2 ……….(7)
0
h 2
เมื่อ a = 4 m e 2 = 0.529 x 10 10 เมตร = 0.529 Å 14
2
0
e

โครงสรางอะตอม
6) กลศาสตรคลื่น

• ไอนสไตน (Einstein) เสนอวา “แสงมีสมบัติเปนทั้งคลื่นและอนุภาค”


• ค.ศ. 1924 de Broglie ตังสมมติฐานวา “สสารทุกชนิดก็มีสมบัติความเปนคลืนและอนุภาค






ดวยเชนกัน” และนําไปใชอธิบายสมบตอิเล็กตรอนในทฤษฎของ Bohr


• ค.ศ. 1927 Heisenberg เสนอวา “ไมสามารถรูตําแหนงทีอยูและโมเมนตัมของอิเล็กตรอนได



อยางแนนอนพรอม ๆ กันได”

• จากแนวคิดตาง ๆ สามารถนํามาอธิบายปรากฏการณของอิเล็กตรอนในอะตอมไดใกลเคียงความ

เปนจริงมากที่สุดดังนี้ คือ


- การพจารณาอิเล็กตรอน มกกลาวถึงในรูปของ “โอกาสทีจะพบอเล็กตรอน” หรือ “ความ



หนาแนนของอิเล็กตรอน”

- อิเล็กตรอนมีสมบัติเปนคลื่น จึงอาจอธิบายสมบัติของอิเล็กตรอนโดยการสรางสมการคลื่น

(Wave equation) และแกสมการโดยใชคณตศาสตรขันสูง



15

เนือหาประกอบการบรรยาย รายวชา คม 100 เคมทัวไป ผศ.ดร. เพชรลดา กนทาด ี




โครงสรางอะตอม
6) กลศาสตรคลื่น

• ค.ศ. 1927 Schrödinger เสนอสมการคลื่นเกี่ยวกับสมบัติ พฤติกรรม และขอบเขตบริเวณที่

พบอิเล็กตรอน


• จากการใชคณิตศาสตรขันสูงในการแกสมการของ Schrödinger จะได เลขควอนตัม









(Quantum number) 4 ชนิด ซงเปนตัวแปรทใชอธบายสมบัตของอิเลกตรอนในอะตอม ดงน ี ้


(1) เลขควอนตัมหลัก (Principle quantum number, n)


n เปนเลขจํานวนเต็ม มีคาตั้งแต 1, 2, 3,…..,  (คา n มากขึน, พลงงานสูงขึน)

n บอกถึง ระดับชั้นพลังงานของอิเล็กตรอน หรือ วง (shell) ของอิเล็กตรอน

เชน ชั้น n = 1 2 3 4 ……….

หมายถึง วง (shell) K L M N ……….

16

เนือหาประกอบการบรรยาย รายวชา คม 100 เคมทัวไป ผศ.ดร. เพชรลดา กนทาด ี




โครงสรางอะตอม
6) กลศาสตรคลื่น

(2) เลขควอนตัมโมเมนตัมเชิงมุม (Angular momentum quantum number, l )

l มีคาตั้งแต 0, 1, 2, ……, n-1

l บอกถึง โมเมนตัมเชิงมุมของอิเล็กตรอน ซึ่งสัมพันธกับลักษณะการเคลื่อนที่ของ



อิเลกตรอน หรือ รปรางของออรบิทอล









(ออรบิทอล (orbital) หมายถึง บรเวณทมโอกาสพบกลมหมอกอิเลกตรอนหรอการ




กระจายตวของอเลกตรอนมากทีสุด)
เชน คา l = 0 1 2 3 4 5 ……….
หมายถึง ออรบิทอล s p d f g h ……….


โดยที่ s orbital หมายถึง e ทมการกระจายตัวหนาแนนเปนลักษณะทรงกลม

-


p orbital “------------------------” 2 พู (lobe) หรือคลายดัมเบล

d orbital “------------------------” 4 พู (lobe) หรือคลายกลีบดอกไม 

17

เนือหาประกอบการบรรยาย รายวชา คม 100 เคมทัวไป ผศ.ดร. เพชรลดา กนทาด ี




โครงสรางอะตอม
6) กลศาสตรคลื่น

- จํานวน l มีคาเทากับคาของ n เชน n = 1 , l = 0 (l มี 1 คา)

n = 2 , l = 0, 1 (l มี 2 คา)

n = 3 , l = 0, 1, 2 (l มี 3 คา)





- การอธิบายรปรางออรบิทอลของอิเลกตรอน จะตองระบุใหทราบวาอิเลกตรอนเหลานนอยใน











ระดบพลงงานชนใดดวย


เชน อิเลกตรอนทีมคา n = 2 และ l = 0 หมายถึง อิเล็กตรอนในชั้นที่ 2 หรือ L shell


และอยูใน s orbital (มีการกระจายตัวเปนทรงกลม) จะเขียนแทนดวย 2s อิเล็กตรอน

18



เนือหาประกอบการบรรยาย รายวชา คม 100 เคมทัวไป ผศ.ดร. เพชรลดา กนทาด ี


โครงสรางอะตอม
6) กลศาสตรคลื่น

(3) เลขควอนตัมแมเหล็ก (Magnetic quantum number, m )
l

m มีคาตั้งแต l , … , 0 , …. , l1 , l
l









m บอกถึง สมบัตแมเหลกของอิเลกตรอน ซึงสมพันธกับทิศทางของออรบิทอลหรอ
l
ทศทางการกระจายอิเลกตรอน



เชน l = 1 จะมีคา m = 1, 0, 1 (หมายถึง p orbital มีทิศทางการกระจายตัวได 3 แบบ
l
หรือ มี 3 orbitals)

l = 2 จะมีคา m = 2, 1, 0, 1, 2 (หมายถึง d orbital มีทิศทางการกระจายตัว 5 แบบ
l
หรือ มี 5 orbitals)









อะตอมในสภาวะปกตหรือไมถกเหนยวนาดวยสนามแมเหลกภายนอก อิเลกตรอนในชัน



เดยวกันและอยูในออรบิทอลชนดเดยวกน จะมระดับพลังงานเทากัน (degeneracy)






19
เนือหาประกอบการบรรยาย รายวชา คม 100 เคมทัวไป ผศ.ดร. เพชรลดา กนทาด ี




โครงสรางอะตอม
6) กลศาสตรคลื่น






ตาราง 1 ตวอยางคาทใชในกลศาสตรคลน


l m จํานวน
n สัญลักษณ l


(จํานวน l = คา n) (คา m อยระหวาง - l กับ + l) ออรบิทัล
l
1 0 1s 0 1

0 2s 0 1
2

1 2p -1, 0, +1 3

0 3s 0 1

3 1 3p -1, 0, +1 3

2 3d -2, -1, 0, +1, +2 5

0 4s 0 1

1 4p -1, 0, +1 3
4
2 4d -2, -1, 0, +1, +2 5

3 4f -3, -2, -1, 0, +1, +2, +3 7
20



เนือหาประกอบการบรรยาย รายวชา คม 100 เคมทัวไป ผศ.ดร. เพชรลดา กนทาด ี


โครงสรางอะตอม
6) กลศาสตรคลื่น

รูปรางของออรบิทอลตางๆตามแกนเรขาคณิต

1s 2s 3s 4s

s orbitals

p orbitals

p x p y p z

d orbitals

d xy d xz d yz

d x2-y2 d z2 21

โครงสรางอะตอม
6) กลศาสตรคลื่น

(4) เลขควอนตัมสปน (Spin quantum number, m )
s




• อิเล็กตรอนมการหมุนรอบแกนตัวเอง เมืออยูในสนามแมเหล็กภายนอกจะมีการจัดตัวเปนสอง







แบบทตางกัน คอ หมนทวนเขมนาฬกาและหมนตามเขมนาฬกา


-
• แสดงดวยตัวเลข 2 คา คือ + ½ เมื่อ e หมุนทวนเข็มนาฬิกา (แทนดวย สปนขึ้น)
-
และ – ½ เมื่อ e หมุนตามเข็มนาฬิกา (แทนดวย สปนลง)

m = + ½ (spin up) m =  ½ (spin down)
s
s

22





เนือหาประกอบการบรรยาย รายวชา คม 100 เคมทัวไป ผศ.ดร. เพชรลดา กนทาด ี

โครงสรางอะตอม
7) โครงสรางอะตอมของธาต ุ






อะตอมที่มีจํานวนอิเลกตรอนหลายตว การกระจายของอิเลกตรอนรอบๆ นิวเคลยส จะจัดตวตาม
ระดับพลังงานจากนอยไปหามาก เรียกวา โครงแบบอิเล็กตรอน (Electron Configuration)

• โครงแบบอิเล็กตรอน แสดงถึง การจัดเรียงตัวของอิเล็กตรอนในแตละออรบิทอล เขียนแทนดวย

สัญลักษณ ที่ประกอบดวย 3 สวน คือ



จํานวนอเลกตรอนในออรบิทัล

1. ตัวเลข แทนคา n (1, 2, 3, …)

2. ตัวอักษร แทนคา l (s, p, d, f, …) เลขควอนตัมหลัก n 1s 1

3. จํานวนอิเล็กตรอนใน subshell นั้น





เลขควอนตมโมเมนตมเชงมม l

23



เนือหาประกอบการบรรยาย รายวชา คม 100 เคมทัวไป ผศ.ดร. เพชรลดา กนทาด ี


โครงสรางอะตอม
7) โครงสรางอะตอมของธาต ุ

ระดับพลังงานของออรบิทอลตางๆ แสดงดังรูป โดยแตละชอง  แทน 1 ออรบิทอล บรรจุ

อิเล็กตรอนไดมากสุด 2 อิเล็กตรอน

24

โครงสรางอะตอม
7) โครงสรางอะตอมของธาต ุ








จัดเรยงอิเลกตรอนในออรบิทัลตางๆ ของอะตอม มหลักเกณฑ ดงน ้ ี
1. หลักของเอาฟบาว (Aufbau Principle)
“อิเล็กตรอนจะเขาไปอยูในออรบิทัลที่มีพลังงานต่ําสุดและวางกอนเสมอ”

2. หลักของเพาลี (Pauli Exclusion Principle)

“ในแตละออรบิทอลจะมีอิเล็กตรอนไดไมเกิน 2 ตัว และตองมีสปน (spin) ในทิศทางตรงขามกัน” 

3. กฎของฮุนด (Hund’s Rule)













“ออรบิทอลทมีระดบพลงงานเทากน จะจดเรียงใหมอเลกตรอนเดยวมากทีสด”   

ตัวอยางโครงแบบอิเล็กตรอนของธาตุ H ถึง Na เปนดังตาราง 2

25





เนือหาประกอบการบรรยาย รายวชา คม 100 เคมทัวไป ผศ.ดร. เพชรลดา กนทาด ี

ตาราง 2 โครงแบบอิเล็กตรอนของ H ถึง Na โครงสรางอะตอม

เลขอะตอม ธาต ุ โครงแบบอิเล็กตรอน แผนภาพออรบิทอล

1 H 1s 1 
1s


2 He 1s 2
1s

2
1s 2s 1  
3 Li
หรือ [He] 2s 1 1s 2s

2
1s 2s 2  
4 Be
หรือ [He] 2s 2 1s 2s

2
2
1s 2s 2p 1   
5 B
2
หรือ [He] 2s 2p 1 1s 2s 2p X 2p y 2p Z

2
2
1s 2s 2p 2    
6 C
หรือ [He] 2s 2p 2 1s 2s 2p X 2p y 2p Z
2

2
2
1s 2s 2p 3     
7 N
2
หรือ [He] 2s 2p 3 1s 2s 2p X 2p y 2p Z
26



เนือหาประกอบการบรรยาย รายวชา คม 100 เคมทัวไป ผศ.ดร. เพชรลดา กนทาด ี


โครงสรางอะตอม
ตาราง 2 โครงแบบอิเล็กตรอนของ H ถึง Na (ตอ)


เลขอะตอม ธาตุ โครงแบบอิเล็กตรอน แผนภาพออรบิทอล

2
2
1s 2s 2p 4     
8 O
หรือ [He] 2s 2p 4 1s 2s 2p X 2p y 2p Z
2

2
2
1s 2s 2p 5     
9 F
หรือ [He] 2s 2p 5 1s 2s 2p X 2p y 2p Z
2

2
2
1s 2s 2p 6     
10 Ne
2
หรือ [He] 2s 2p 6 1s 2s 2p X 2p y 2p Z

2
6
1s 2s 2p 3s 1      
2
11 Na
หรือ [Ne] 3s 1 1s 2s 2p X 2p y 2p Z 3s

*โครงแบบอิเล็กตรอนของธาตุในคาบที่ 3 ตั้งแต Na  Ar ก็เขียนในทํานองเดียวกัน

27


เนือหาประกอบการบรรยาย รายวชา คม 100 เคมทัวไป ผศ.ดร. เพชรลดา กนทาด ี



โครงสรางอะตอม
7) โครงสรางอะตอมของธาต ุ

2
2
1
6
จะเห็นวา Na จะมีโครงแบบอิเล็กตรอนเปน 1s 2s 2p 3s และมักเขียนยอเปน [Ne] 3s 1

โครงแบบอิเล็กตรอนของ Ne (แกสเฉื่อย)

นั่นคือ ในสวนที่เหมือนกับโครงแบบอิเล็กตรอนของแกสเฉื่อย จะเขียนแทนดวยสัญลักษณ 






ของแกสเฉือยในวงเลบ [ ] สวนทีเหลือก็เขียนเพิมตอไป


ตัวอยางเชน

2
S = [Ne] 3s 3p 4
16
Ca = [Ar] 4s 2
20

8
Pd = [Kr] 5d 4s 2
46

28



เนือหาประกอบการบรรยาย รายวชา คม 100 เคมทัวไป ผศ.ดร. เพชรลดา กนทาด ี


โครงสรางอะตอม
7) โครงสรางอะตอมของธาต ุ

-
s-orbital บรรจุ e ไดมากสุด 2 ตัว

-
p-orbital บรรจุ e ไดมากสุด 6 ตัว

-
d-orbital บรรจุ e ไดมากสุด 10 ตัว

-
f-orbital บรรจุ e ไดมากสุด 14 ตัว

29


เนือหาประกอบการบรรยาย รายวชา คม 100 เคมทัวไป ผศ.ดร. เพชรลดา กนทาด ี



โครงสรางอะตอม
7) โครงสรางอะตอมของธาต ุ

•การบรรจุอิเล็กตรอนแบบไมปกติ (การบรรจุแบบ half-filled และ filled)










- อะตอมของธาตบางหม มการบรรจอิเลกตรอนแตกตางไปจากหลกทัวไป คือ การบรรจุแบบครง






(half-filled) และ การบรรจุแบบเต็ม (filled) เนองจากทาใหอะตอมมความเสถยรมากขึน

ตวอยาง เชน


1
ธาตุหมู 6B เชน Cr = [Ar] 4s 3d 5 = [Ar]       (half-filled)
24
2
(ไมใช [Ar] 4s 3d ) 4s 1 3d 5
4

1
ธาตุหมู 1B เชน Cu = [Ar] 4s 3d 10 = [Ar]       (filled)
29
9
2
(ไมใช [Ar] 4s 3d ) 4s 1 3d 10

30


เนือหาประกอบการบรรยาย รายวชา คม 100 เคมทัวไป ผศ.ดร. เพชรลดา กนทาด ี



Microsoft PowerPoint - ๕ฎื๛à¸�หา ทม 100_à¸ıชชี๋ 3_็ทรà¸⁄สร๛าà¸⁄à¸�à¸°à¸Łà¸�ม_1-63_๕พà¸−รลà¸flา ฆัฎชาà¸flี - ดาวน์โหลดหนังสือ | 1-30 หน้า (2024)
Top Articles
Latest Posts
Recommended Articles
Article information

Author: Dr. Pierre Goyette

Last Updated:

Views: 5696

Rating: 5 / 5 (50 voted)

Reviews: 81% of readers found this page helpful

Author information

Name: Dr. Pierre Goyette

Birthday: 1998-01-29

Address: Apt. 611 3357 Yong Plain, West Audra, IL 70053

Phone: +5819954278378

Job: Construction Director

Hobby: Embroidery, Creative writing, Shopping, Driving, Stand-up comedy, Coffee roasting, Scrapbooking

Introduction: My name is Dr. Pierre Goyette, I am a enchanting, powerful, jolly, rich, graceful, colorful, zany person who loves writing and wants to share my knowledge and understanding with you.