ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มงคลสูตร"
ล โรบอต เพิ่ม: km:មង្គលសូត្រ |
|||
(ไม่แสดง 37 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 24 คน) | |||
บรรทัด 1: | บรรทัด 1: | ||
{{พุทธศาสนา}} |
{{พุทธศาสนา}} |
||
[[ไฟล์:มังคลัตถทีปนีแปล.jpg|150px |
[[ไฟล์:มังคลัตถทีปนีแปล.jpg|150px|thumb|''ภาพ:หนังสือมงคลัตถทีปนี จัดพิมพ์โดย[[มหามกุฏราชวิทยาลัย]] หลักสูตรเปรียญธรรม 4 ประโยค คัมภีร์ชั้นฎีกาอธิบายความในมงคลสูตร'']] |
||
'''มงคลสูตร''' ([http://upload.wikimedia.org/wikisource/th/d/d0/%E0%B8%A1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%95%E0%B8%A3.ogg ฟัง]) เป็นพระสูตรหรือหลักธรรมที่[[พระพุทธเจ้า]]ทรงแสดงแก่เหล่าเทวดา<ref>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ '''มงคลสูตร'''. พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=25&A=41&Z=72&pagebreak=0]. เข้าถึงเมื่อ 9-6-52</ref> ที่มาทูลถามพระพุทธเจ้าเพื่อตอบข้อสงสัยของมนุษย์และเทวดา<ref>อรรถกถา ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ '''มงคลสูตร'''. อรรถกถาพระไตรปิฎก. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=25.0&i=5&p=3]. เข้าถึงเมื่อ 9-6-52</ref> โดยพระสูตรบทนี้ถือว่าเป็นพระสูตรสำคัญบทหนึ่งในพระพุทธศาสนาเถรวาท เพราะมีเนื้อหาแสดงถึงการปฏิเสธ มงคลภายนอก ที่นับถือเหตุการณ์หรือสิ่งต่าง ๆ ว่าเป็นมงคล หรือมีมงคล โดยอธิบายว่าในทัศนะพระพุทธศาสนานั้น มงคลของมนุษย์และเทวดาย่อมเกิดจากการกระทำอันได้แก่ มงคลภายใน คือต้องกระทำความดี และความดีนั้นจะเป็นสิ่งที่เรียกว่ามงคลเองโดยไม่ต้องไปอ้อนวอนกราบไหว้ขอมงคลจากนอกตัว เมื่อพิจารณาจากเนื้อหาในพระสูตรแล้วแสดงให้เห็นว่าพระพุทธศาสนาปฏิเสธมงคลภายนอกโดยสิ้นเชิง ซึ่งเป็นจุดเด่นในพระพุทธศาสนา |
|||
'''มงคลสูตร''' เป็นพระสูตรสำคัญบทหนึ่ง ในพระพุทธศาสนาเถรวาท |
|||
== ประวัติ == |
== ประวัติ == |
||
ในคัมภีร์ชั้นอรรถกถา อธิบายความโดย |
ในคัมภีร์ชั้นอรรถกถา อธิบายความโดยพิสดารถึงสาเหตุของการที่พระพุทธเจ้าตรัสมงคลสูตรไว้ว่า ประมาณ 12 ปีก่อนพุทธกาล ประชาชนต่างตื่นตัวว่า อะไรคือเหตุที่ทำให้ชีวิตเป็นมงคล กล่าวว่า บ้างก็ว่า '''วัตถุสิ่งของ เช่น ต้นไม้ สัตว์ หรือว่ารูปเคารพต่าง ๆ จะทำให้ชีวิตเป็นมงคล'''<ref>พระสิริมังคลาจารย์. ''มงคลทีปนี''. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2540</ref> เรื่องราวการอภิปรายเรื่องมงคล ก็ไปถึงภุมเทวา คือเทวดาในระดับพื้นดิน เทวดาก็สนทนากันว่าอะไรคือมงคล ประเด็นนี้ก็ลุกลามไปถึงอากาศเทวา ไปถึงสวรรค์ชั้นต่าง ๆ จนถึงพรหมโลกชั้นสุธาวาส ซึ่งเป็นที่อยู่อาศัย ของผู้ที่บรรลุธรรมเป็นพระอนาคามีแล้ว มีความเข้าใจในเรื่องมงคลชีวิตเป็นอย่างดี แต่ไม่สามารถอธิบายได้ จึงได้ประกาศให้เทวดาทราบว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้า จะเสด็จลงมาตรัสรู้ธรรมในอีก 12 ปี ให้ไปถามพระพุทธองค์ในตอนนั้น |
||
เมื่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณแล้ว คืนหนึ่งขณะที่ประทับอยู่ ณ [[เชตวันมหาวิหาร]] ใกล้[[เมืองสาวัตถี]] ท้าวสักกเทวราชได้นำหมู่เทวดาเข้าเฝ้า และบัญชาให้เทพบุตรองค์หนึ่งทูลถามพระองค์ว่า อะไรคือมงคลของชีวิต พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงทรงแสดงหลักมงคลสูตร ซึ่งมีทั้งหมด 10 หมวด นับเป็นรายการได้ 38 ประการ* |
|||
* (ผู้ทรงความรู้บางท่านที่จำแนกโดยการแปลจากภาษาบาลี นับได้ 37 ประการ เพราะ "การสงเคราะห์บุตรและคู่ครอง" เป็นสองข้อที่อยู่ในวลีเดียว). |
|||
เมื่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณแล้ว คืนหนึ่งขณะที่ประทับอยู่ ณ [[เชตวันมหาวิหาร]] ใกล้[[เมืองสาวัตถี]] ท้าวสักกเทวราชได้นำหมู่เทวดาเข้าเฝ้า และบัญชาให้เทพบุตรองค์หนึ่งทูลถามพระองค์ว่า อะไรคือมงคลของชีวิต พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงทรงแสดงหลักมงคลสูตร ซึ่งมีทั้งหมด 38 ประการดังกล่าว |
|||
แก้แล้ว |
|||
== เนื้อหาในพระสูตร == |
== เนื้อหาในพระสูตร == |
||
ตามเนื้อหาในพระสูตร มงคลของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไม่ยึดถือวัตถุ แต่ยึดถือการปฏิบัติฝึกฝนตนเอง ซึ่งมีอยู่ 38 ประการ |
ตามเนื้อหาในพระสูตร มงคลของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไม่ยึดถือวัตถุ แต่ยึดถือการปฏิบัติฝึกฝนตนเอง ซึ่งมีอยู่ 38 ประการ ทั้งหมดจำแนกอยู่ในเนื้อหาโดยแบ่งเป็น 10 หมวด ได้แก่ |
||
<div style="-moz-column-count:2; column-count:2;"> |
<div style="-moz-column-count:2; column-count:2;"> |
||
หมวดที่ 1 |
|||
# ไม่คบคนพาล |
|||
# คบ |
# [[ไม่คบคนพาล]] |
||
# [[คบบัณฑิต]] |
|||
# บูชาคนที่ควรบูชา |
|||
# [[บูชาคนที่ควรบูชา]] |
|||
# อยู่ในปฏิรูปเทศ อยู่ในถิ่นมีสิ่งแวดล้อมดี |
|||
หมวดที่ 2 |
|||
# ได้ทำความดีให้พร้อมไว้แต่ก่อน |
|||
# อยู่ในถิ่นที่เหมาะสม |
|||
# ตั้งตนไว้ชอบ |
|||
# มีบุญวาสนามาก่อน |
|||
# เล่าเรียนศึกษามาก |
|||
# ตั้งตนชอบ |
|||
# มีศิลปวิทยา |
|||
หมวดที่ 3 |
|||
# มีระเบียบวินัย |
|||
# เป็นพหูสูต |
|||
# วาจาสุภาษิต |
|||
# มีศิลปะ |
|||
# มีวินัย |
|||
# มีวาจาสุภาษิต |
|||
หมวดที่ 4 |
|||
# บำรุงมารดาบิดา |
# บำรุงมารดาบิดา |
||
# |
# เลี้ยงดูบุตร |
||
# สงเคราะห์ภรรยา |
# สงเคราะห์ภรรยา(สามี) |
||
# |
# ทำงานไม่คั่งค้าง |
||
หมวดที่ 5 |
|||
# รู้จักให้ |
|||
# บำเพ็ญทาน |
|||
# ประพฤติธรรม |
# ประพฤติธรรม |
||
# สงเคราะห์ญาติ |
# สงเคราะห์ญาติ |
||
# |
# ทำงานไม่มีโทษ |
||
หมวดที่ 6 |
|||
# เว้นจากความชั่ว |
|||
# งดเว้นจากบาป |
|||
# เว้นจากาการดื่มน้ำเมา |
|||
# สำรวมจากการดื่มน้ำเมา |
|||
# ไม่ประมาทในธรรมทั้งหลาย |
|||
# ไม่ประมาทในธรรม |
|||
# ความเคารพ |
|||
หมวดที่ 7 |
|||
# ความสุภาพอ่อนน้อม |
|||
# ความ |
# มีความเคารพ |
||
# มีความถ่อมตน |
|||
# มีความสันโดษ |
|||
# มีความกตัญญู |
# มีความกตัญญู |
||
# ฟังธรรมตามกาล |
# ฟังธรรมตามกาล |
||
หมวดที่ 8 |
|||
# ความอดทน |
|||
# มีความอดทน |
|||
# เป็นผู้ว่าง่ายสอนง่าย |
|||
# เป็นผู้ว่าง่าย |
|||
# พบเห็นสมณะ |
|||
# เห็นสมณะ |
|||
# สนทนาธรรมตามกาล |
# สนทนาธรรมตามกาล |
||
หมวดที่ 9 |
|||
# มีความเพียรเผากิเลส |
|||
# บำเพ็ญตบะ |
|||
# ประพฤติพรหมจรรย์ |
# ประพฤติพรหมจรรย์ |
||
# เห็นอริยสัจจ์ |
# เห็นอริยสัจจ์ |
||
# ทำพระนิพพานให้แจ้ง |
# ทำพระนิพพานให้แจ้ง |
||
หมวดที่ 10 |
|||
# ถูกโลกธรรม จิตไม่หวั่นไหว |
|||
# จิตไม่หวั่นไหวในโลกธรรม |
|||
# จิตไร้เศร้า |
|||
# จิตไม่โศก |
|||
# จิตปราศจากธุลี |
# จิตปราศจากธุลี |
||
# จิตเกษม |
# จิตเกษม |
||
</div> |
</div> |
||
อย่างไรก็ตาม แม้พระพุทธองค์จะทรงแสดงธรรมไว้ชัดเจนดีแล้ว ก็มีผู้ที่เชื่อบ้าง ไม่เชื่อบ้าง จึงได้ส่งผลมาถึงปัจจุบันนี้ แนวทางการยึดถือความเป็นมงคล จึงมีอยู่ 2 แนวทาง คือ |
อย่างไรก็ตาม แม้พระพุทธองค์จะทรงแสดงธรรมไว้ชัดเจนดีแล้ว ก็มีผู้ที่เชื่อบ้าง ไม่เชื่อบ้าง จึงได้ส่งผลมาถึงปัจจุบันนี้ แนวทางการยึดถือความเป็นมงคล จึงมีอยู่ 2 แนวทาง คือ |
||
# มงคลจากการมี |
# มงคลจากการมีสิ่งนั้นมีสิ่งนี้ |
||
# มงคลจากการฝึกตัว |
# มงคลจากการฝึกตัว |
||
== ดูเพิ่ม == |
== ดูเพิ่ม == |
||
* [[มงคลชีวิต]] |
|||
* [[มงคล]] |
* [[มงคล]] |
||
* [[มังคลัตถทีปนี]] |
|||
(๑) ไม่คบคนพาล |
|||
* [[ปราภวสูตร]] |
|||
* [[ภาณวาร]] |
|||
(๒) คบบัณฑิต |
|||
(๓) บูชาคนที่ควรบูชา |
|||
(๔) อยู่ในปฏิรูปเทศ อยู่ในถิ่นมีสิ่งแวดล้อมดี |
|||
(๕) ได้ทำความดีให้พร้อมไว้แต่ก่อน |
|||
(๖) ตั้งตนไว้ชอบ |
|||
(๗) เล่าเรียนศึกษามาก |
|||
(๘) มีศิลปวิทยา |
|||
(๙) มีระเบียบวินัย |
|||
(๑๐) วาจาสุภาษิต |
|||
(๑๑) บำรุงมารดาบิดา |
|||
(๑๒) สงเคราะห์บุตร |
|||
(๑๓) สงเคราะห์ภรรยา |
|||
(๑๔) การงานไม่อากูล |
|||
(๑๕) รู้จักให้ |
|||
(๑๖) ประพฤติธรรม |
|||
(๑๗) สงเคราะห์ญาติ |
|||
(๑๘) การงานไม่มีโทษ |
|||
(๑๙) เว้นจากความชั่ว |
|||
(๒๐) เว้นจากาการดื่มน้ำเมา |
|||
(๒๑) ไม่ประมาทในธรรมทั้งหลาย |
|||
(๒๒) ความเคารพ |
|||
(๒๓) ความสุภาพอ่อนน้อม |
|||
(๒๔) ความสันโดษ |
|||
(๒๕) มีความกตัญญู |
|||
(๒๖) ฟังธรรมตามกาล |
|||
(๒๗) ความอดทน |
|||
(๒๘) เป็นผู้ว่าง่ายสอนง่าย |
|||
(๒๙) พบเห็นสมณะ |
|||
(๓๐) สนทนาธรรมตามกาล |
|||
(๓๑) มีความเพียรเผากิเลส |
|||
(๓๒) ประพฤติพรหมจรรย์ |
|||
(๓๓) เห็นอริยสัจจ์ |
|||
(๓๔) ทำพระนิพพานให้แจ้ง |
|||
(๓๕) ถูกโลกธรรม จิตไม่หวั่นไหว |
|||
(๓๖) จิตไร้เศร้า |
|||
(๓๗) จิตปราศจากธุลี |
|||
(๓๘) จิตเกษม |
|||
== อ้างอิง == |
== อ้างอิง == |
||
บรรทัด 139: | บรรทัด 78: | ||
== แหล่งข้อมูลอื่น == |
== แหล่งข้อมูลอื่น == |
||
{{วิกิซอร์ซ|มงคลสูตร}} |
{{วิกิซอร์ซ|มงคลสูตร}} |
||
{{วิกิซอร์ซ|มงคลชีวิต|มงคลสูตร |
{{วิกิซอร์ซ|มงคลชีวิต|มงคลสูตร 38 ประการ}} |
||
* [http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=25&A=41&Z=72&pagebreak=0 พระไตรปิฎก เล่มที่ |
* [http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=25&A=41&Z=72&pagebreak=0 พระไตรปิฎก เล่มที่ 25 พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 17 ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ '''มงคลสูตร'''] |
||
* [http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=25.0&i=5&p=3 อรรถกถา ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ '''มงคลสูตร'''] |
* [http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=25.0&i=5&p=3 อรรถกถา ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ '''มงคลสูตร'''] |
||
* [http://watkhungthaphao.googlepages.com/mongkolasutra_indianmusic '''มหามงคลสูตร - ทำนองอินเดีย'''. เว็บไซต์วัดคุ้งตะเภา. เรียกข้อมูลเมื่อ 24-5-52] |
|||
[[หมวดหมู่:พระสูตรในพระไตรปิฎกเถรวาท]] |
[[หมวดหมู่:พระสูตรในพระไตรปิฎกเถรวาท]] |
||
[[หมวดหมู่:ขุททกนิกาย]] |
[[หมวดหมู่:ขุททกนิกาย]] |
||
[[หมวดหมู่: |
[[หมวดหมู่:คำศัพท์ศาสนาพุทธ]] |
||
{{โครงพระพุทธศาสนา}} |
{{โครงพระพุทธศาสนา}} |
||
[[en:Mangala Sutta]] |
|||
[[km:មង្គលសូត្រ]] |
|||
[[no:Mangala sutta]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 01:34, 8 มกราคม 2566
ส่วนหนึ่งของชุดบทความ |
ศาสนาพุทธ |
---|
มงคลสูตร เป็นพระสูตรสำคัญบทหนึ่ง ในพระพุทธศาสนาเถรวาท
ประวัติ
[แก้]ในคัมภีร์ชั้นอรรถกถา อธิบายความโดยพิสดารถึงสาเหตุของการที่พระพุทธเจ้าตรัสมงคลสูตรไว้ว่า ประมาณ 12 ปีก่อนพุทธกาล ประชาชนต่างตื่นตัวว่า อะไรคือเหตุที่ทำให้ชีวิตเป็นมงคล กล่าวว่า บ้างก็ว่า วัตถุสิ่งของ เช่น ต้นไม้ สัตว์ หรือว่ารูปเคารพต่าง ๆ จะทำให้ชีวิตเป็นมงคล[1] เรื่องราวการอภิปรายเรื่องมงคล ก็ไปถึงภุมเทวา คือเทวดาในระดับพื้นดิน เทวดาก็สนทนากันว่าอะไรคือมงคล ประเด็นนี้ก็ลุกลามไปถึงอากาศเทวา ไปถึงสวรรค์ชั้นต่าง ๆ จนถึงพรหมโลกชั้นสุธาวาส ซึ่งเป็นที่อยู่อาศัย ของผู้ที่บรรลุธรรมเป็นพระอนาคามีแล้ว มีความเข้าใจในเรื่องมงคลชีวิตเป็นอย่างดี แต่ไม่สามารถอธิบายได้ จึงได้ประกาศให้เทวดาทราบว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้า จะเสด็จลงมาตรัสรู้ธรรมในอีก 12 ปี ให้ไปถามพระพุทธองค์ในตอนนั้น
เมื่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณแล้ว คืนหนึ่งขณะที่ประทับอยู่ ณ เชตวันมหาวิหาร ใกล้เมืองสาวัตถี ท้าวสักกเทวราชได้นำหมู่เทวดาเข้าเฝ้า และบัญชาให้เทพบุตรองค์หนึ่งทูลถามพระองค์ว่า อะไรคือมงคลของชีวิต พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงทรงแสดงหลักมงคลสูตร ซึ่งมีทั้งหมด 10 หมวด นับเป็นรายการได้ 38 ประการ*
- (ผู้ทรงความรู้บางท่านที่จำแนกโดยการแปลจากภาษาบาลี นับได้ 37 ประการ เพราะ "การสงเคราะห์บุตรและคู่ครอง" เป็นสองข้อที่อยู่ในวลีเดียว).
เนื้อหาในพระสูตร
[แก้]ตามเนื้อหาในพระสูตร มงคลของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไม่ยึดถือวัตถุ แต่ยึดถือการปฏิบัติฝึกฝนตนเอง ซึ่งมีอยู่ 38 ประการ ทั้งหมดจำแนกอยู่ในเนื้อหาโดยแบ่งเป็น 10 หมวด ได้แก่
หมวดที่ 1
หมวดที่ 2
- อยู่ในถิ่นที่เหมาะสม
- มีบุญวาสนามาก่อน
- ตั้งตนชอบ
หมวดที่ 3
- เป็นพหูสูต
- มีศิลปะ
- มีวินัย
- มีวาจาสุภาษิต
หมวดที่ 4
- บำรุงมารดาบิดา
- เลี้ยงดูบุตร
- สงเคราะห์ภรรยา(สามี)
- ทำงานไม่คั่งค้าง
หมวดที่ 5
- บำเพ็ญทาน
- ประพฤติธรรม
- สงเคราะห์ญาติ
- ทำงานไม่มีโทษ
หมวดที่ 6
- งดเว้นจากบาป
- สำรวมจากการดื่มน้ำเมา
- ไม่ประมาทในธรรม
หมวดที่ 7
- มีความเคารพ
- มีความถ่อมตน
- มีความสันโดษ
- มีความกตัญญู
- ฟังธรรมตามกาล
หมวดที่ 8
- มีความอดทน
- เป็นผู้ว่าง่าย
- เห็นสมณะ
- สนทนาธรรมตามกาล
หมวดที่ 9
- บำเพ็ญตบะ
- ประพฤติพรหมจรรย์
- เห็นอริยสัจจ์
- ทำพระนิพพานให้แจ้ง
หมวดที่ 10
- จิตไม่หวั่นไหวในโลกธรรม
- จิตไม่โศก
- จิตปราศจากธุลี
- จิตเกษม
อย่างไรก็ตาม แม้พระพุทธองค์จะทรงแสดงธรรมไว้ชัดเจนดีแล้ว ก็มีผู้ที่เชื่อบ้าง ไม่เชื่อบ้าง จึงได้ส่งผลมาถึงปัจจุบันนี้ แนวทางการยึดถือความเป็นมงคล จึงมีอยู่ 2 แนวทาง คือ
- มงคลจากการมีสิ่งนั้นมีสิ่งนี้
- มงคลจากการฝึกตัว
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ พระสิริมังคลาจารย์. มงคลทีปนี. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2540