ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ใช้:Adrich/ทดลองเขียน12"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Adrich (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Adrich (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{disambiguation)}}
[[ไฟล์:Special forces gatling gun.jpg|thumb|[[พลประจำยานลำน้ำสงครามพิเศษ]]กองทัพเรือสหรัฐใช้ปืนกระบอกหมุน[[มินิกัน]]บน[[เรือเร็วตรวจการณ์ลำน้ำ]] (SOC-R) ยิงข่มระหว่างการฝึกถอนตัวฉุกเฉินบนชายหาด]]
[[ไฟล์:Counter-terrorism training of the Osaka Prefectural Police.jpg|thumb|[[Osaka Prefecture|Osaka]] [[Prefectural police|Prefectural Police]] [[Riot Police Unit]] officers arresting a suspect during training]]
'''การยิงข่ม'''<ref>{{Cite book|url=https://mtb16.rta.mi.th/Download/FYK/TMS.pdf|title=คู่มือศัพท์ และคำย่อทางทหาร|publisher=มณฑลทหารบกที่ 16}}</ref> ({{อังกฤษ|suppressive fire}}) ใน[[วิทยาการทหาร]]คือการ "ยิงที่ลดประสิทธิภาพของกองกำลังข้าศึกให้ต่ำกว่าประสิทธิภาพในการดำเนินภารกิจ" เมื่อใช้ในการปกป้องกองกำลังฝ่ายเดียวกันในการรุกคืบในสนามรบจะถูกเรียกว่า '''การยิงคุ้มครอง''' (covering fire) การข่มมักจะเกิดขึ้นเฉพาะในช่วงเวลาที่ทำการยิงเท่านั้น<ref>{{Cite web|title=AAP-6 ''NATO Glossary of Terms and Definitions'', Edition 2014|url=http://nso.nato.int/nso/zPublic/ap/aap6/AAP-6.pdf|url-status=dead|archive-url=https://web.archive.org/web/20200501195545/http://nso.nato.int/nso/zPublic/ap/aap6/AAP-6.pdf|archive-date=2020-05-01|access-date=2015-11-14}}</ref> โดยเป็นอีกประเภทของ[[การยิงสนับสนุน]] (fire support) ซึ่ง[[เนโท]]กำหนดให้เป็น "การยิงประสานกันพร้อมกับการดำเนินกลยุทธ์ของกำลังรบ เพื่อทำลาย ต่อต้าน หรือปราบปรามข้าศึก"


หน่วยยุทธวิธีตำรวจ A '''police tactical unit''' ('''PTU''') {{refn|Some academic literature from North America uses the term "police [[paramilitary]] unit" (PPU) to describe police tactical units.{{sfn|Alvaro|2000|p=3}}|group=lower-alpha}} is a specialized [[police]] unit trained and equipped to handle situations that are beyond the capabilities of ordinary law enforcement units because of the level of violence (or risk of violence) involved.<ref>{{cite thesis|last1=Alvaro|first1=Sam|title=Tactical law enforcement in Canada; an exploratory survey of Canadian police agencies|publisher=Carleton University|url=https://curve.carleton.ca/cd0e2f4a-ed69-46f3-bd41-c372ee1e7a81|date=2000|isbn=9780612484191|page=1,37,51-52|access-date=29 August 2021}}</ref><ref name="ANCTC">{{cite book|author1=Australia-New Zealand Counter-Terrorism Committee|title=Active Armed Offender Guidelines for Crowded Places|date=2017|publisher=Commonwealth of Australia|page=3|url=https://www.nationalsecurity.gov.au/Media-and-publications/Publications/Documents/active-armed-offender-guidelines-crowded-places.pdf|isbn=9781925593976|access-date=30 September 2017}}</ref><ref>{{cite thesis|last1=Rantatalo|first1=Oscar|title=Sensemaking and organising in the policing of high risk situations: focusing the Swedish Police National Counter-Terrorist Unit|date=2013|publisher=Department of Education, Umeå University|location=Umeå|isbn=9789174596991|url=http://www.diva-portal.org/smash/get/diva2:642473/FULLTEXT02.pdf|page=15,32|access-date=25 May 2017}}</ref> A police tactical unit's tasks may include: executing dangerous [[search warrant]]s and [[arrest warrant]]s for dangerous persons; [[arrest without warrant|arresting]] or neutralizing dangerous or [[mental disorder|mentally ill]] armed persons; and intervening in high risk situations such as [[Shootout|shootouts]], [[Police standoff|standoff]]s, [[hostage|hostage-takings]], and [[terrorism|terrorist]] incidents.{{sfn|Alvaro|2000|p=99-103}}{{sfn|NTOA|2018|p=10}}
ก่อนที่เนโตจะกำหนดนิยามคำนี้ กองทัพบกของสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพได้ใช้คำว่า "การยิงตัดรอนกำลัง" (neutralization) ซึ่งมีคำจำกัดความเช่นเดียวกับการยิงข่ม ในขณะที่สหรัฐได้ให้คำนิยามการยิงตัดรอนกำลังไว้ว่า "การยิงเพื่อทำให้เป้าหมายขาดประสิทธิภาพหรือใช้งานไม่ได้ชั่วคราว"<ref>{{Cite book|url=https://irp.fas.org/doddir/army/adp1_02.pdf|title=Army Doctrine Publication ADP 1-02. Terms and Military Symbols|publisher=Headquarters, Department of the army}}</ref>


== Definition ==
== การใช้งาน ==
[[ไฟล์:Bundesarchiv B 145 Bild-F054217-0020, Bundesgrenzschutz, GSG 9.jpg|thumb|right|[[GSG 9]] (operator and helicopter pictured here in 1978), was established in September 1972 following the [[Munich massacre]] to combat [[terrorism]], and was one of the first police tactical units.{{sfn|Alvaro|2000|p=39-40}}]]
[[ไฟล์:US Navy 071212-M-4213L-014 During flight, the crew chiefs, Sgt. J.R. Murphy, left, and Staff Sgt. B.W. Boroff, both attached to Helicopter Light Attack Squadron (HMLA) 367, look over the horizon with their .50-cal machine gun a.jpg|thumb|หัวหน้าลูกเรือกองทัพเรือสหรัฐ 2 นาย มองไปเหนือขอบฟ้าพร้อมกับปืนกล .50-cal และปืนมินิกัน พลยิงประตูใช้ปืนกลเพื่อยิงข่มเมื่อเฮลิคอปเตอร์ต้องลงจอดในพื้นที่ที่ไม่เป็นมิตร]]
[[ไฟล์:HH-3-minigun-vietnam-19681710.jpg|thumb|ปืนกระบอกหมุน[[มินิกัน]]ถูกยิงจากอากาศยานโจมตีติดอาวุธในระหว่างสงครามเวียดนาม]]


Police tactical units are dedicated units composed of personnel selected and trained in tactical skillsets to carry out the responsibilities of the unit, and in [[use of force]] policies, including lethal force for [[counterterrorism]].<ref>{{cite web|author=NTOA|title=Tactical Response and Operations Standard for Law Enforcement Agencies|url=http://ntoa.org/pdf/swatstandards.pdf|date=April 2018|page=12,34,38|access-date=3 February 2021}}</ref> A PTU is equipped with specialized police and military-type equipment.{{sfn|NTOA|2018|p=45}} PTU personnel may also be trained in [[crisis negotiation]] skills.{{sfn|NTOA|2018|p=35}}
การยิงข่มจะก่อให้เกิดการบาดเจ็บหรือเสียชีวิตต่อเป้าหมายที่เปิดเปยตนเองออกมาในการยิงแต่ละครั้ง บีบให้เป้าหมายต้องอยู่นิ่งและไม่สามารถตอบโต้ได้เนื่องจากถูกบังคับให้ต้องก้มหน้าหรือเบือนหน้าหลบ "มิฉะนั้นก็ต้องถูกกระสุนปืน" การเปิดเผยตัวเองจะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับสภาพขวัญกำลังใจ แรงจูงใจ และการนำของผู้นำกองกำลังเป้าหมาย การยิงข่มมักใช้ในการคุ้มครอง โดยเนโทกำหนดให้เป็น "การยิงเพื่อปกป้องกองทหารเมื่ออยู่ในระยะของปืนเล็กของข้าศึก" บางครั้งเรียกว่า "วินนิ่งเดอะไฟร์ไฟท์" (winning the firefight) ซึ่งใช้งานในการปฏิบัติการของทหารราบเท่านั้น อย่างไรก็ตาม การยิงข่มอาจจะใช้การต่อต้านการยิงเล็งจำลอง (indirect fire) การป้องกันภัยทางอากาศของข้าศึก หรือกิจกรรมทางทหารอื่น ๆ เช่น การก่อสร้างหรือการส่งกำลังบำรุง หรือการปฏิเสธการเข้าถึงพื้นที่ของข้าศึกในระยะเวลาสั้น ๆ (ไม่เหมาะกับการปฏิบัติการในเวลานานเนื่องจากข้อจำกัดในการส่งกำลังบำรุงเครื่องกระสุน) การใช้ควันเพื่อ "กำบัง" การตรจจการณ์ของข้าศึก เป็นอีกรูปแบบของการข่มแบบไม่ถึงชีวิต และในเวลากลางคืนการใช้พลุส่งสว่างอาจถูกใช้เพื่อข่มความเคลื่อนไหวกิจกรรมของข้าศึกด้วยการทำลายความมืดที่ปกคลุมอยู่


A police tactical unit can be part of either a police force under the authority of [[civil authority|civilian officials]],{{sfn|Alvaro|2000|p=40}} or a [[gendarmerie]]-style force under the authority of civilian officials ([[interior ministry]]) or a [[Ministry of defence|defence ministry]] that may have formal military status.<ref>{{cite book |last1=Lutterbeck |first1=Derek |title=The Paradox of Gendarmeries : Between Expansion, Demilitarization and Dissolution |date=2013 |publisher=Geneva Centre for the Democratic Control of Armed Forces (DCAF) |location=Geneva |isbn=9789292222864 |url=https://issat.dcaf.ch/download/34418/497173/SSR_8_EN.pdf |series=SSR PAPER 8|page=7|accessdate=3 February 2021}}</ref>{{sfn|Alvaro|2000|p=40}} Other government agencies, depending on the country, may establish specialized units with comparable taskings, training, and equipment, such as [[border guard]], [[coast guard]], [[customs]], or [[corrections]].{{sfn|Alvaro|2000|p=44}}
การข่มสามารถทำได้ด้วยอาวุธหรือกลุ่มของอาวุธใดก็ตามที่สามารถยิงได้อย่างต่อเนื่องหนาแน่นตามระยะเวลาการข่มที่กำหนด การยิงข่มนั้นมีขีดความสามารถที่แตกต่างกันอย่างมากเนื่องจากพื้นที่ที่ทำการข่มมีความแตกต่างกัน เช่น กระสุนปืนเล็กยาวหรือปืนกลอาจมีอนุภาพทำลายล้างจากวิถีกระสุนเพียงประมาณหนึ่งเมตรเท่านั้น ในขณะที่กระสุนปืนใหญ่เพียงนัดเดียวอาจจะข่มพื้นที่ไม่กี่พันตารางเมตรรอบ ๆ การแตกระเบิด นอกจากนี้การยิงข่มอย่างต่อเนื่องจากปืนเล็กนานกว่าไม่กี่นาทีอาจจะทำได้ยากเนื่องจากข้อจำกัดด้านการส่งกำลังบำรุง การส่งการข่มทางอากาศก็เช่นกัน เนื่องจากข้อจำกัดเรื่องของน้ำหนักในการบุรรทุก ตรงข้ามกับปืนใหญ่ที่สามารถยิงข่มไปยังพื้นที่ได้อย่างต่อเนื่องและกินเวลายาวนานได้


In the [[United States]], police tactical units are known by the generic term of [[SWAT|Special Weapons And Tactics]] (SWAT) teams;{{sfn|Rantatalo|2013|p=15}}{{sfn|Alvaro|2000|p=72}} the term originated from the [[Philadelphia Police Department]] and the [[LAPD Metropolitan Division|Los Angeles Police Department]] in the 1960s.<ref name="Mitchel P. Roth 2001, p. 333">Mitchel P. Roth & James Stuart Olson, ''Historical Dictionary of Law Enforcement'', Westport, Ct: Greenwood Publishing Group, 2001, p. 333 and; John S. Dempsey & Linda S. Forst, ''An Introduction to Policing'', Clifton Park, NY: Delmar Cengage Learning, 2011, p. 276.</ref>{{sfn|Rantatalo|2013|p=15}}{{sfn|Alvaro|2000|p=27-28}} In [[Australia]], the [[Australian Government|federal government]] uses the term [[police tactical group]].<ref name="ANCTC" /> The [[European Union]] uses the term [[ATLAS Network|special intervention unit]] for national counterterrorist PTUs.<ref>{{cite act |url=http://eur-lex.europa.eu/legal-content/EN/TXT/?uri=celex:32008D0617|title=On the improvement of cooperation between the special intervention units of the Member States of the European Union in crisis situations|date=23 June 2008|access-date=26 May 2017|number=2008/617/JHA|type=Council Decision}}</ref>
วัตถุประสงค์ของการข่มคือการหยุดยั้นหรือป้องกันไม่ให้ข้าศึกสามารถตรวจการณ์ ยิง เคลื่อนย้าย หรือปฏิบัติภารกิจทางการทหารอื่น ๆ ที่จะเป็นการขัดขวาง (หรือแทรกซึม) กำลังของฝ่ายเราหรือพันธมิตรเราได้ ลักษณะที่สำคัญของการยิงข่มคือจะเกิดขึ้นเมื่อมีอำนาจการยิงที่มีความรุนแรงเพียงพอเท่านั้น


== Characteristics ==
การยิงข่มเป็นยุทธวิธีในการลดการบาดเจ็บและสูญเสียของกำลังฝ่ายเดียวกัน และช่วยให้กำลังฝ่ายเราสามารถปฏิบัติการได้ในขณะนั้นเลย เช่น เป้าหมายที่ถูกข่มจะไม่สามารถปะทะกับกองกำลังที่เคลื่อนที่โดยปราศจากที่กำบัง ช่วยให้กองกำลังฝ่ายเราสามารถเคลื่อนที่ไปยังตำแหน่งใหม่หรือเข้าใกล้ข้าศึกมากขึ้น เช่น ในบทความของนาวิกโยธินสหรัฐ ได้บันทึกไว้ว่า "การสื่อสารและการยิงข่มคือสิ่งที่ทำให้เคลื่อนไหวในสนามรบได้ ช่วยทำให้นาวิกโยธินได้เปรียบ"<ref>{{Cite web|title=3/7 rushes to perfect fire, manoeuvre tactics. 7/31/2009. By Lance Cpl. M. C. Nerl, Marine Corps Air Ground Combat Center Twentynine Palms|url=http://www.marines.mil/unit/29palms/Pages/News/2009/Jul/37rushestoperfectfire,manuevertactics.aspx}}</ref> การยิงข่มอาจใช้เพื่อช่วยเปิดทางให้เฮลิคอปเตอร์หรือเรือสามารถจอดหรือถอนทหารออกจากเขตการสู้รบ (อย่างหลักเรียกว่า "hot extraction")
[[ไฟล์:FBI SWAT anti-hijacking response.jpg|thumb|An [[Federal Bureau of Investigation|FBI]] [[FBI Special Weapons and Tactics Teams|SWAT]] team advancing during an [[aircraft hijacking]] [[training exercise]] at [[Keesler Air Force Base]] in [[Mississippi]].]]
Police tactical units have similarities to [[military]] [[special forces]] units such as organization, selection, training, equipment, and operational methodologies.<ref>{{cite book|title=NATO Glossary of Terms and Definitions|language=en, fr|author=North Atlantic Treaty Organization|date=18 December 2020|volume=AAP-06|edition=2020|url=https://nso.nato.int/nso/ZPUBLIC/_BRANCHINFO/TERMINOLOGY_PUBLIC/NON-CLASSIFIED%20NATO%20GLOSSARIES/AAP-6.PDF|publisher=NATO Standardization Agency|location=Brussels|page=119|archive-url=https://web.archive.org/web/20210602210816/https://nso.nato.int/nso/ZPUBLIC/_BRANCHINFO/TERMINOLOGY_PUBLIC/NON-CLASSIFIED%20NATO%20GLOSSARIES/AAP-6.PDF |archive-date=2 June 2021 |url-status=dead}}</ref><ref>{{cite report|last1=Alexander|first1=John B|title=Convergence: Special Operations Forces and Civilian Law Enforcement|date=July 2010|publisher=Joint Special Operations University (JSOU) Press|location=MacDill Air Force Base, Florida|pages=48–62|chapter-url=https://jsou.libguides.com/ld.php?content_id=51792184|access-date=29 August 2021|chapter=4: Comparison between SOF and Law Enforcement Agencies|series=JSOU report 10-6}}</ref> Police tactical units, similar to military units, are not [[Gender diversity|gender diverse]], with female members being rare.<ref>{{cite journal |last1=Dahle |first1=Thorvald O. |date=March 2015 |title=Women and SWAT: Making Entry into Police Tactical Teams |url=https://www2.cohpa.ucf.edu/media/1008908/leef-march_2015_issue_ada_done__1_.pdf |url-status=dead |journal=Law Enforcement Executive Forum |location=Macomb, Illinois |publisher=Illinois Law Enforcement Training and Standards Board Executive Institute |volume=15 |issue=1 |page=21,25 |doi=10.19151/LEEF.2015.1501b |issn=1552-9908 |archiveurl=https://web.archive.org/web/20171006092234/https://www2.cohpa.ucf.edu/media/1008908/leef-march_2015_issue_ada_done__1_.pdf |archivedate=6 October 2017}}</ref><ref>{{cite book |last1=Turnley |first1=Jessica Glicken |url=https://dod.defense.gov/Portals/1/Documents/wisr-studies/SOCOM%20-%20JSOU%20Study%20on%20Special%20Operations%20Forces%20Mixed-Gender%20Elite%20Team3.pdf |title=Special Operations Forces Mixed-Gender Elite Teams |last2=Stewart |first2=Dona J. |last3=Rubright |first3=Rich |last4=Quirin |first4=Jason |date=June 2014 |publisher=Joint Special Operations University (JSOU) Press |others=William Knarr (Project Leader) |location=MacDill Air Force Base, Florida |pages=11,85–86 |access-date=3 February 2021}}</ref>


For "certain counter terrorism operations, such as hostage rescue, there is a significant convergence of roles, tactics and force when employed in either an armed conflict or policing role".<ref>{{cite book|last1=Watkin|first1=Kenneth|title=Fighting at the Legal Boundaries: Controlling the Use of Force in Contemporary Conflict|date=2016|publisher=Oxford University Press|location=New York|url={{Google books|2NMdDAAAQBAJ|page=437|plainurl=yes}}|isbn=9780190457976|page=437}}</ref> Aside from counterterrorism, the roles of police and military units differ in that the role of military units can result in the use of the maximum permissible force against enemy combatants while the role of police units is to use only minimal force sufficient to subdue suspected criminals, including negotiation.<ref>{{cite book|last1=Newburn|first1=Tim|author1-link = Tim Newburn|last2=Neyroud|first2=Peter|author2-link = Peter Neyroud|title=Dictionary of Policing|date=2013|publisher=Routledge|location=Abingdon, Oxon|isbn=9781843922872|url={{Google books|1fqAZzIDlgYC|page=187|plainurl=yes}}|page=187}}</ref><ref>{{cite book|last1=Weber|first1=Diane Cecilia|title=Warrior Cops: The Ominous Growth of Paramilitarism in American Police Departments.|date=1999|publisher=[[Cato Institute]]|location=Washington|series=Cato Briefing Papers No. 50|page=3|url=https://object.cato.org/sites/cato.org/files/pubs/pdf/bp50.pdf|access-date=25 May 2017}}</ref>{{sfn|Rantatalo|2013|p=23}}
โดยปกติการยิงข่มจะใช้เพื่อการปกปิดการยิวใส่ข้าศึกในเขตการรบระยะประชิด อย่างไรก็ตาม การยิงข่มที่ยิงโดยปืนใหญ่และ[[การยิงเล็งจำลอง]] (indirect fire) สามารถใช้เพื่อข่มเป้าหมายได้ทุกประเภท โดยเฉพาะอย่างยิ่งการยิงต่อต้านของกองร้อยปืนใหญ่ไปยังหน่วยยิงเล็งจำลองของข้าศึก เนโทได้ให้คำนิยาม "การข่มอาวุธป้องกันภัยทางอากาศของฝ่ายข้าศึก" (suppression of enemy air defenses: SEAD) ซึ่งเป็นการให้คำจำกัดความที่กว้างและรวมไปถึงการทำให้ยุทโธปกรณ์เกิดความเสียหายด้วย อีกข้อที่สำคัญของการใช้การยิงข่มจากระบบการยิงเล็งจำลอง (เช่น ปืนครก ปืนใหญ่ และปืนเรือ) และอากาศยานคือการคำนึงถึงความปลอดภัยของกองทหารที่เข้าโจมตี การยิงไปยังพื้นที่หนึ่ง ๆ นั้นกระสุนจะสร้างความเสียหายถึงชีวิตโดยไม่เลือกฝ่ายในพื้นที่ที่เกิดการกระจายระเบิดรอบทิศทาง แม้ว่ารูปแบบและพื้นที่สังหารจะขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย และบางครั้งเกิดขึ้นในสถานการณ์เฉพาะ


== ดูเพิ่ม ==
ผลกระทบจากการยิงข่มคือผลทางจิตวิทยา แทนที่จะพยายามสังหารข้าศึกโดยตรง การยิงข่มกลับทำให้ทหารข้าศึกรู้สคกว่าตนไม่สามารถทำการใด ๆ ได้อย่างปลอดภัยนอกจากการหาที่กำบัง ซึ่งถูกเรียกง่าย ๆ ว่า "ทำให้พวกเขาก้มหัวลง" (it makes them keep their heads down) หรือ "ทำให้พวกเขาถูกตรึงไว้" (it keeps them pinned down) อย่างไรก็ตาม ขึ้นอยู่กับปัจจัยแวดล้อมต่าง ๆ รวมไปถึงประเภทของกระสุนและการป้องกันของเป้าหมาย การยิงข่มอาจจะทำให้เกิดการบาดเจ็บหรือเสียชีวิต หรือความเสียหายต่อยุทโธปกรณ์ของข้าศึก
* [[List of police tactical units]]
* [[List of military special forces units]]


== หมายเหตุ ==
การยิงข่มต้องมีความรุนแรงมากพอเกิดขึ้นเหนือพื้นที่เป้าหมาย ความรุนแรงส่งผลต่อหน่วยในพื้นที่เป้าหมายในช่วงเวลาที่ทำการข่ม โดยใช้อาวุธแต่ละประเภทส่งผลแตกต่างกันอย่างมากสำหรับขีดความสามารถในการข่ม อย่างการใช้สัญญาณเสียงที่เกิดจากการยิงวิถีโค้งบนอากาศและเมื่อกระสุนกระทบเป้าหมาย
<references group="lower-alpha" />


== อ้างอิง ==
ในการสงครามยุคใหม่ [[การเฝ้าตรวจ]]เป็นกลยุทธในการป้องกันกำลังรบ: ในหน่วยขนาดเล็กหรือหน่วยยานยนต์สนับสนุนทางทหารอีกหน่วย พวกเขาจะใช้กลยุทธ์[[การยิงประกอบการเคลื่อนที่]] (fire and movement tactic) หน่วยเฝ้าตรวจ หรือหน่วยสนับสนุนสามารถเข้ายึดพื้นที่ที่สามารถตรวจการร์ภูมิประเทศข้างหน้าได้ โดยเฉพาะตำแหน่งที่น่าจะเป็นที่ตั้งของข้าศึก ซึ่งช่วยให้สามารถยิงคุ้มครองอย่างมีประสิทธิภาพให้กับหน่วยของฝ่ายเราหรือพันธมิตรที่จะรุกคืบต่อไปข้างหน้า ตำแหน่งเฝ้าตรวจที่เหมาะสมที่สุดจะต้องเป็นตำแหน่งที่มีที่กำบังของหน่วย และมีแนวยิง ([[wiktionary:line of fire|lines of fire]]) ที่ปราศจากสิ่งกีดขวาง อาจจะอยู่บนเส้นความสูงขอนพื้นดินหรือสันเขา ซึ่งมีตำแหน่งให้ยานภาหนะสามารถมี[[ที่มั่นกำบังตัวรถ]] (hull-down) หากหน่วยที่เฝ้าตรวจอยู่ในตำแหน่งยิงเหนือหน่วยของฝ่ายเดียวกันที่กำลังรุกขึ้นไป จะต้องใช้ความระมัดระวังไม่ให้เกิดการยิงพลาด โดยที่หน่วยของฝ่ายเดียวกันควรจะอยู่ในระยะหมดแสงของการส่องวิถี (ระยะที่มองเห็น[[กระสุนส่องวิถี]])
{{Reflist|30em}}


== บรรณานุกรม ==
== ประวัติ ==
{{refbegin}}
ช่วง[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] ถือเป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่เนื่องจากการพัฒนาเทคนิค[[ปืนใหญ่]]และการป้องกันจากสนามเพลาะ ในช่วงปลายปี พ.ศ. 2458 [[กองกำลังรบนอกประเทศบริติช (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)|กองกำลังรบนอกประเทศบริติช]]ตระหนักว่าผลจากการยิงปืนใหญ่ไม่สามารถเปิดช่องในแนวสนามเพลาะของเยอรมันหรือทำลายปืนใหญ่ของข้าศึกได้ในช่วงเวลาวิกฤต พวกเขาจึงพัฒนาเทคนิคปืนใหญ่สำหรับยิงข่มข้าศึกในสนามเพลาะสำหรับเปิดทางให้ทหารราบข่มปืนใหญ่ของข้าศึกในระยะวิกฤตเพื่อปกป้องทหารราบที่กำลังทำการโจมตี<ref>GHQ Artillery Notes No 4, Artillery in Offensive Operations, April 1916</ref> หลังจากนั้น การข่มกลายเป็นกลยุทธ์ในการกำหนดเป้าหมายปืนใหญ่ของสหราชอาณาจักร แม้ว่ามันจะถูกนำมาใช้ครั้งแรกใน[[สงครามบูร์ครั้งที่สอง]]ก็ตาม การเปิดฉากยิงปืนใหญ่และเคลื่อนที่สามารถช่วยข่มแนวหน้าด้วยการยิงคุ้มครองในรัศมีหลายไมล์ [[ลูกกระสุนแตกอากาศ]] (shrapnel shell) ถูกใช้งานโดยกองทัพบกสหราชอาณาจักรในฉากการยิงปืนใหญ่ในการโจมตี การยิงข่มถูกนำมาใช้กับปืนใหญ่ของข้าศึกที่โจมตีกองทหารด้วยการยิงเล็งจำลอง (indirect fire)
* {{cite book |last1=Katz |first1=Samuel M. |title=The Illustrated Guide to the World's Top Counter-Terrorist Forces|date=1995|publisher=Concord Publication Company|location=Hong Kong|isbn=9623616023}}
* {{cite book |last1=Lippay |first1=Christopher |title=The ATLAS Network : European Special Intervention Units combating terrorism and violent crime |date=2021 |publisher=Stumpf + Kossendey, Edewecht |isbn=9783964610447 |edition=English |url=https://atlas-book.eu}}
* {{cite book |last1=Metzner |first1=Frank |last2=Friedrich |first2=Joachim |title=Polizei-Sondereinheiten Europas Geschichte - Aufgaben - Einsätze |date=2002 |publisher=Motorbuch Verlag |location=Stuttgart |isbn=9783613022492 |language=German |trans-title=Police-Special units of Europe History-Tasks-Operations}}
{{refend}}


== ข้อมูลภายนอก ==
ส่วนของยุทธวิธีทหารราบก็มีการพัฒนาเช่นเดียวกันและการข่มก็กลายมาเป็นส่วนประกอบหลักในการ "วินนิ่งเดอะไฟร์ไฟท์" (winning the firefight) ซึ่งแนวคิดนี้สะดวกขึ้นเมื่อใช้ปืนกลที่มีการใช้งานตั้งแต่ช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและครั้งที่สอง อย่างไรก็ตาม การยิงข่มด้วยอาวุธยิงเล็งตรงของทหารราบมีประโยชน์อย่างมากในการกับเป้าหมาย แต่ถ้าไม่ได้รับการยิงสนับสนุนจากหน่วยใกล้เคียงและใช้เพียงกระสุนที่พกพามา การยิงข่มอย่างต่อเนื่องอาจจะทำการข่มได้เพียงไม่กี่นาทีเท่านั้น
* {{Commons category-inline|Police tactical units}}


{{Authority control}}
ในการโจมตีสะเทินน้ำสะเทินบกช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] เรือรบจะเปิดฉากยิงด้วยปืนหลักไปยังตำแหน่งของปืนใหญ่ ปืนครก หรือปืนกลของข้าศึกที่ทราบบนฝั่งหรือหลังหากที่กำลังยกพลขึ้นเพื่อข่มการยิงของข้าศึกจากตำแหน่งที่อาจจะทำการยิงไปยังกองกำลังที่ยกพลขึ้นบก<ref>{{cite web|date=2017|title=Suppressive Fire|url=https://www.tititudorancea.org/z/suppressive_fire.htm|website=The Titi Tudorancea Library}}</ref> การใช้อากาศยานและการโจมตีทางอากาศที่มีการใช้งานมากขึ้นยังทำให้เกิดการทิ้งระเบิดและการยิงโจมตีเส้นทางวิ่งของอากาศยาน ซึ่งเป็นวิธีการที่ใช้บ่อยในการข่มกำลังทางอากาศ ขัดขวางแนว และสร้างความเสียหายอย่างหนักให้กับข้าศึก และยังมีการใช้การรวมกำลังการยิงจากปืนกลหรือวัตถุระเบิดที่ถูกทิ้งลงไปยังแนวของข้าศึก นอกจากนี้ยังมีการใช้ระเบิดเพลิงในการข่ม การปฏิเสธการเข้าถึงพื้นที่ และการสร้างผลทางจิตวิทยาที่กว้างขวาง ซึ่งแนวคิดนี้ถูกนำไปใช้ใน[[สงครามเวียดนาม]]จากการนำ[[เนปาล์ม]]มาใช้งานตามแนวคิดดังกล่าว

== การใช้อาวุธ ==
[[ไฟล์:US Navy 060520-N-7497P-229 Cpl. Julius Mitchell, left, and Cpl. Jeremy Rugg, center, lay down covering fire while Cpl. Adam Gokey spots insurgent positions on his right and fires a grenade, seen traveling through the air, whil.jpg|thumb|นาวิกโยธินสหรัฐ 2 นายกำลังยิงคุ้มครองด้วยปืนเอ็ม 4 คาร์บิน และเครื่องยิงลูกระเบิดเอ็ม 203 ขนาด 40 มม. ขณะที่นาวิกโยธินจาก[[กองร้อยนายทหารติดต่อปืนเรือและกำลังทางอากาศ]] กำลังชี้เป้าหมายในเมืองรามาดี ประเทศอิรัก พ.ศ. 2549]]
[[ไฟล์:Second Battle of Passchendaele - Third Stage (Nov 6) Barrage Map.jpg|thumb|right|แผนที่การโจมตีด้วยปืนใหญ่ระหว่างการรบที่พาสเชนดาเลอครั้งที่สอง (พ.ศ. 2460) แสดงการยิงและเคลื่อนรุกเพื่อป้องกันแนวรุกคืบ]]

การยิงข่มสามารถยิงได้ด้วยอาวุธหรือกลุ่มขนองอาวุธใดก็ตามที่สามารถยิงได้อย่างสม่ำเสมอตามระยะการข่มที่ถูกกำหนด การยิงข่มอาจจะเป็นการยิงเล็งตรงหรือยิงเล็งจำลองก็ได้ อย่างไรก็ตาม ความสามารถในการยิงข่มขึ้นอยู่กับความแตกต่างของอาวุธที่ใช้งานและขนาดพื้นที่ที่ถูกยิงข่ม

=== อาวุธยิงเล็งจำลอง ===
มีวิธีการหลายรูปแบบในการใช้[[ปืนใหญ่]]<ref>{{Cite book|url=https://tds.rta.mi.th/data/teaching45/4043%20%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%AB%E0%B8%B2%20%E0%B8%95%E0%B8%B3%E0%B8%A3%E0%B8%B2%20%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%8A%E0%B8%B2%20%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%B7%E0%B8%99%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B8%8D%E0%B9%88.pdf|title=คู่มือนักศึกษาวิชาทหารชาย ชั้นปีที่ 4 (เหล่าทหารปืนใหญ่)|publisher=[[หน่วยบัญชาการรักษาดินแดน]]}}</ref> (และปืนครก, ปืนเรือ) สำหรับการยิงข่ม ในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง การเปิดฉากการยิงปืนใหญ่และเคลื่อนที่ไปด้วยถือเป็นวิธีการปกติในขณะนั้น ลูกกระสุนแตกอากาศ (shrapnel shell) ถูกยิงเพื่อสร้างกรวยกระสุนไว้หน้าทหารราบที่กำลังรุกคืบเข้ามาด้วยวิธีการเล็งยิงไปข้างหน้า 100 หลาทุก ๆ สองสามนาที ไปยังพื้นที่ส่วนหน้าหลายกิโลเมตรเพื่อสนับสนุนการโจมตีของกองพลหรือกองทัพน้อย กระสุนระเบิดแรงสูง (High Explosive: HE) ยังถูกนำมาใช้งานในสงครามโลกครั้งที่สอง รวมไปถึงการคุ้มครองการรุกคืบของรถถังด้วยการยิงข่มด้วยพลปืนต่อต้านรถถัง

อย่างไรก็ตาม การรวมอำนาจกำลังรบด้วยการใช้กระสุนระเบิดแรงสูง (HE) ต่อเป้าหมายเฉพาะพื้นที่เริ่มกลายเป็นสิ่งที่ปฏิบัติกันแพร่หลายมากขึ้น และค่อย ๆ เข้ามาแทนการเปิดฉากยิงด้วยปืนใหญ่ ซึ่งการรวมกำลังยิงจะเริ่มเมื่อกองกำลังโจมตีตกอยู่ในสถานะที่เสี่ยงต่อการถูกตีโต้และเคลื่อนที่ออกจากตำแหน่งนั้นจนถึงระยะที่ห่างพอจากเป้าหมายและทำการยิงข่ม ผลจากการยิงข่มจะอยู่ประมาณ 2 นาทีหลังจากปืนใหญ่หยุดยิง

การรวมกำลังการยิงข่มด้วยกองร้อยทหารปืนใหญ่ 1 กองร้อยสามารถกินพื้นที่ประมาณ 250x250 เมตร และสามารถใช้สนับสนุนหมวดหรือกองร้อยโจมตีในการข่มครั้งเดียวหรือการยิงข่มแบบต่อเนื่องกัน สำหรับการปฏิบัติการขนาดใหญ่ กองร้อยปืนใหญ่หลายกองร้อยอาจจะมีเป้าหมายจำนวนมาก และเคลื่อนการยิงไปยังเป้าหมายที่แตกต่างกันไประหว่างการปฏิบัติการยังคงดำเนินอยู่

แม้ว่ากระสุนระเบิดแรงสูง (HE) จะถูกใช้ในการยิงข่มมากที่สุด แต่กระสุนม่านควันก็สามารถใช้ในการยิงข่มได้ด้วยการบดบังการตรวจการณ์ของข้าศึก ส่งผลอย่างมากต่อการใช้อาวุธยิงเล็งตรง ในการปฏิบัติการสมัยใหม่การใช้ควันไม่สามรถบดบังกล้องส่องภาพจากความร้อนสมัยใหม่ได้ นอกจากนี้ในปฏิบัติการสนับสนุนสันติภาพ การส่องสว่างด้วยพลุร่มชูชีพถูกนำมาใช้งานเพื่อขัดขวางการปฏิบัติการของฝ่ายที่ทำสงคราม

สำหรับกองร้อยปืนใหญ่ ภารกิจท้ายสุด (last-ditch mission) ที่[[ผู้ตรวจการณ์หน้า]]สามารถร้องขอได้คือ "ยิงข่มฉับพลัน" (immediate suppression) คำสั่งนี้จะสั่งให้ปืนใหญ่ทุกกระบอกในกองร้อยที่เกี่ยวข้องยิงกระสุนและฟิวส์ที่บรรจุอยู่ทันที ซึ่งอาจจะมาจากภารกิจของอีกหน่วยหรือสัญญาณเรียกขานอื่น ๆ ของภารกิจนั้น ผู้ตรวจการหน้าอาจจะได้รับการยิงแสงจากฟอสฟอรัสขาว หรือการยิงจากกระสุนระเบิดทวิประสงค์ (DPICM) หรือ VT-HE ไปยังเป้าหมายในลักษณะเดียวกัน

=== อาวุธยิงเล็งตรง ===
[[ไฟล์:U.S. Navy special warfare combatant-craft crewmen (SWCC), Special Boat Team 22 conducts training 16 AUG 09.jpg|thumb|[[พลประจำยานลำน้ำสงครามพิเศษ]] (SWCC) ชุดเรือพิเศษที่ 22 กองทัพเรือสหรัฐระหว่างการฝึก]]

กระสุนปืนเล็กยาวหรือปืนกลมีวิถีกระสุนในการยับยั้งได้ในระยะเพียงหนึ่งเมตรเท่านั้น อย่างไรก็ตาม ทั้งสองแบบสามารถใช้สำหรับยิงข่มข้าศึกได้ภายในพื้นที่เล็ก ๆ ซึ่งเรียกว่า "วินนิ่งเดอะไฟร์ไฟท์" (winning the firefight)

การยิงปืนกลยังสามารถยิงได้จากยานรบหุ้มเกราะ (AFV) ยานยนต์<ref>{{Cite book|url=http://msdept.crma.ac.th/msdept/prakunmsdept/paper/book301a10.pdf|title=การซุ่มโจมตีและการต่อต้านการซุ่มโจมตี|publisher=ส่วนวิชาทหาร โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า}}</ref> และอากาศยาน โดยเฉพาะจากเฮลิคอปเตอร์และบางครั้งจากอากาศยานปีกตรึง เช่น [[ล็อกฮีด เอซี-130]] หรือปืนใหญ่อัตโนมัติ (ขนาด 20–40 มิลลิเมตร) หรือเครื่องยิงลูกระเบิดที่สามารถยิงเล็งตรงจากรถถัง อย่างไรก็ตาม ด้วยข้อจำกัดในการบรรทุกกระสุนทำให้ระบบดังกล่าวเหมาสำหรับการยิงทำลายเป้าหมายที่ถูกระบุตำแหน่งอย่างแม่นยำ เว้นแต่ต้องการที่จะยิงข่มในช่วงเวลาสั้น ๆ

ในอัฟกานิสถาน มูจาฮิดีนดัดแปลงเครื่องยิงจรวด[[อาร์พีจี-7]] สำหรับใช้งานกับเฮลิคอปเตอร์ของรัสเซียด้วยการเพิ่มท่อโค้งบริเวณปลายท่อจุดระเบิด ทำให้เกิดการเปลี่ยนทิศทางระเบิดกลับ ทำให้สามารถที่จะยิงอาร์พีจีไปยังอากาศยานได้จากท่านอนคว่ำได้ ซึ่งเวลานั้นโซเวียตได้ใช้เฮลิคอปเตอร์ในการตอบโต้ภัยคุกคามจากอาร์พีจีบริเวณพื้นที่ลงจอดด้วยการยิงข่มต่อต้านบุคคลจากปืนกล

กองกำลังรัสเซียใช้[[ปืนซุ่มยิงดรากูนอฟ]]ในระดับหมวดเพื่อระยะในการยิงที่ไกลเป็นพิเศษสำหรับขัดขวางและยิงข่มในสนามรบ รวมไปถึงในสถานการณ์การเผชิญหน้าอย่างกระทันหันกับกองทหารของข้าศึก

== ดูเพิ่ม ==
* [[การยิงรบกวน]]

== อ้างอิง ==
{{reflist}}


[[หมวดหมู่:ยุทธวิธีทางทหาร]]
[[หมวดหมู่:หน่วยยุทธวิธีตำรวจ| ]]
[[หมวดหมู่:คำศัพท์การทหาร]]
[[หมวดหมู่:การทำงานของอาวุธ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:01, 19 ธันวาคม 2566

แม่แบบ:Disambiguation)

Osaka Prefectural Police Riot Police Unit officers arresting a suspect during training

หน่วยยุทธวิธีตำรวจ A police tactical unit (PTU) [a] is a specialized police unit trained and equipped to handle situations that are beyond the capabilities of ordinary law enforcement units because of the level of violence (or risk of violence) involved.[2][3][4] A police tactical unit's tasks may include: executing dangerous search warrants and arrest warrants for dangerous persons; arresting or neutralizing dangerous or mentally ill armed persons; and intervening in high risk situations such as shootouts, standoffs, hostage-takings, and terrorist incidents.[5][6]

Definition

GSG 9 (operator and helicopter pictured here in 1978), was established in September 1972 following the Munich massacre to combat terrorism, and was one of the first police tactical units.[7]

Police tactical units are dedicated units composed of personnel selected and trained in tactical skillsets to carry out the responsibilities of the unit, and in use of force policies, including lethal force for counterterrorism.[8] A PTU is equipped with specialized police and military-type equipment.[9] PTU personnel may also be trained in crisis negotiation skills.[10]

A police tactical unit can be part of either a police force under the authority of civilian officials,[11] or a gendarmerie-style force under the authority of civilian officials (interior ministry) or a defence ministry that may have formal military status.[12][11] Other government agencies, depending on the country, may establish specialized units with comparable taskings, training, and equipment, such as border guard, coast guard, customs, or corrections.[13]

In the United States, police tactical units are known by the generic term of Special Weapons And Tactics (SWAT) teams;[14][15] the term originated from the Philadelphia Police Department and the Los Angeles Police Department in the 1960s.[16][14][17] In Australia, the federal government uses the term police tactical group.[3] The European Union uses the term special intervention unit for national counterterrorist PTUs.[18]

Characteristics

An FBI SWAT team advancing during an aircraft hijacking training exercise at Keesler Air Force Base in Mississippi.

Police tactical units have similarities to military special forces units such as organization, selection, training, equipment, and operational methodologies.[19][20] Police tactical units, similar to military units, are not gender diverse, with female members being rare.[21][22]

For "certain counter terrorism operations, such as hostage rescue, there is a significant convergence of roles, tactics and force when employed in either an armed conflict or policing role".[23] Aside from counterterrorism, the roles of police and military units differ in that the role of military units can result in the use of the maximum permissible force against enemy combatants while the role of police units is to use only minimal force sufficient to subdue suspected criminals, including negotiation.[24][25][26]

ดูเพิ่ม

หมายเหตุ

  1. Some academic literature from North America uses the term "police paramilitary unit" (PPU) to describe police tactical units.[1]

อ้างอิง

  1. Alvaro 2000, p. 3.
  2. Alvaro, Sam (2000). Tactical law enforcement in Canada; an exploratory survey of Canadian police agencies (วิทยานิพนธ์). Carleton University. p. 1,37,51-52. ISBN 9780612484191. สืบค้นเมื่อ 29 August 2021.
  3. 3.0 3.1 Australia-New Zealand Counter-Terrorism Committee (2017). Active Armed Offender Guidelines for Crowded Places (PDF). Commonwealth of Australia. p. 3. ISBN 9781925593976. สืบค้นเมื่อ 30 September 2017.
  4. Rantatalo, Oscar (2013). Sensemaking and organising in the policing of high risk situations: focusing the Swedish Police National Counter-Terrorist Unit (PDF) (วิทยานิพนธ์). Umeå: Department of Education, Umeå University. p. 15,32. ISBN 9789174596991. สืบค้นเมื่อ 25 May 2017.
  5. Alvaro 2000, p. 99-103.
  6. NTOA 2018, p. 10.
  7. Alvaro 2000, p. 39-40.
  8. NTOA (April 2018). "Tactical Response and Operations Standard for Law Enforcement Agencies" (PDF). p. 12,34,38. สืบค้นเมื่อ 3 February 2021.
  9. NTOA 2018, p. 45.
  10. NTOA 2018, p. 35.
  11. 11.0 11.1 Alvaro 2000, p. 40.
  12. Lutterbeck, Derek (2013). The Paradox of Gendarmeries : Between Expansion, Demilitarization and Dissolution (PDF). SSR PAPER 8. Geneva: Geneva Centre for the Democratic Control of Armed Forces (DCAF). p. 7. ISBN 9789292222864. สืบค้นเมื่อ 3 February 2021.
  13. Alvaro 2000, p. 44.
  14. 14.0 14.1 Rantatalo 2013, p. 15.
  15. Alvaro 2000, p. 72.
  16. Mitchel P. Roth & James Stuart Olson, Historical Dictionary of Law Enforcement, Westport, Ct: Greenwood Publishing Group, 2001, p. 333 and; John S. Dempsey & Linda S. Forst, An Introduction to Policing, Clifton Park, NY: Delmar Cengage Learning, 2011, p. 276.
  17. Alvaro 2000, p. 27-28.
  18. On the improvement of cooperation between the special intervention units of the Member States of the European Union in crisis situations, Council Decision มาตรา 2008/617/JHA ประกาศใช้เมื่อ 23 June 2008
  19. North Atlantic Treaty Organization (18 December 2020). NATO Glossary of Terms and Definitions (PDF) (ภาษาอังกฤษ และ ฝรั่งเศส). Vol. AAP-06 (2020 ed.). Brussels: NATO Standardization Agency. p. 119. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2 June 2021.
  20. Alexander, John B (July 2010). "4: Comparison between SOF and Law Enforcement Agencies". Convergence: Special Operations Forces and Civilian Law Enforcement (Report). JSOU report 10-6. MacDill Air Force Base, Florida: Joint Special Operations University (JSOU) Press. pp. 48–62. สืบค้นเมื่อ 29 August 2021.
  21. Dahle, Thorvald O. (March 2015). "Women and SWAT: Making Entry into Police Tactical Teams" (PDF). Law Enforcement Executive Forum. Macomb, Illinois: Illinois Law Enforcement Training and Standards Board Executive Institute. 15 (1): 21,25. doi:10.19151/LEEF.2015.1501b. ISSN 1552-9908. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 6 October 2017.
  22. Turnley, Jessica Glicken; Stewart, Dona J.; Rubright, Rich; Quirin, Jason (June 2014). Special Operations Forces Mixed-Gender Elite Teams (PDF). William Knarr (Project Leader). MacDill Air Force Base, Florida: Joint Special Operations University (JSOU) Press. pp. 11, 85–86. สืบค้นเมื่อ 3 February 2021.
  23. Watkin, Kenneth (2016). Fighting at the Legal Boundaries: Controlling the Use of Force in Contemporary Conflict. New York: Oxford University Press. p. 437. ISBN 9780190457976.
  24. Newburn, Tim; Neyroud, Peter (2013). Dictionary of Policing. Abingdon, Oxon: Routledge. p. 187. ISBN 9781843922872.
  25. Weber, Diane Cecilia (1999). Warrior Cops: The Ominous Growth of Paramilitarism in American Police Departments (PDF). Cato Briefing Papers No. 50. Washington: Cato Institute. p. 3. สืบค้นเมื่อ 25 May 2017.
  26. Rantatalo 2013, p. 23.

บรรณานุกรม

ข้อมูลภายนอก

  • วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Police tactical units