ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เสื้อแขนหมูแฮม"
แอนเดอร์สัน (คุย | ส่วนร่วม) ไม่มีความย่อการแก้ไข |
แอนเดอร์สัน (คุย | ส่วนร่วม) ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 10 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน) | |||
บรรทัด 1: | บรรทัด 1: | ||
[[ไฟล์:สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ.jpg|thumb|[[สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]]สวมฉลองพระองค์แขนหมูแฮม]] |
[[ไฟล์:สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ.jpg|thumb|[[สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]]สวมฉลองพระองค์แขนหมูแฮม]] |
||
'''เสื้อแขนหมูแฮม''' หรือ '''ขาหมูแฮม''' เป็นเสื้อของไทยที่ได้อิทธิพลจากเครื่องแต่งกายหญิงชาวยุโรป เป็นเสื้อเข้ารูปลายลูกไม้ มีลักษณะโดดเด่นคือบริเวณต้นแขนจะจีบ |
'''เสื้อแขนหมูแฮม''' หรือ '''ขาหมูแฮม''' เป็นเสื้อของไทยที่ได้อิทธิพลจากเครื่องแต่งกายหญิงชาวยุโรปช่วงรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]แห่ง[[กรุงรัตนโกสินทร์]] เป็นเสื้อเข้ารูปลายลูกไม้ มีลักษณะโดดเด่นคือบริเวณต้นแขนจะจีบพองฟู และค่อย ๆ แคบลงมาถึงข้อมือ<ref name="ศิลปะ">{{cite web |url= https://www.silpa-mag.com/culture/article_15436 |title= เล่าเรื่องเจ้านายกับชุดไทย แต่ละสมัยรับอิทธิพลจากไหนกันบ้าง |author=|date= 17 ธันวาคม 2563 |work= ศิลปวัฒนธรรม |publisher=|accessdate= 28 มิถุนายน 2564}}</ref><ref name="พีพี">{{cite web |url= https://story.pptvhd36.com/@yuvadee/5a639035df2f0 |title= แฟชั่นสาวสยาม สมัยรัชกาลที่ ๕ |author= ยุวดี วัชรางกูร |date= 2560 |work= พีพีทีวี |publisher= |accessdate= 20 ธันวาคม 2565 |archive-date= 2022-12-20 |archive-url= https://web.archive.org/web/20221220103424/https://story.pptvhd36.com/@yuvadee/5a639035df2f0 |url-status= dead }}</ref> |
||
เสื้อแขนหมูแฮมเป็นที่นิยมในราชสำนักสยาม |
เสื้อแขนหมูแฮมเป็นที่นิยมในราชสำนักสยาม ปรากฏครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2438<ref name="พีพี"/>–2439<ref name="ศิลปะ1">{{cite web |url= https://www.silpa-mag.com/culture/article_35511 |title= ประวัติแต่งกายสุภาพ เปลือยอกถึง “เสื้อลูกไม้” และที่มาสมัยร.3 “สวมเสื้อเข้ามาก็ไม่โปรด” |author=|date= 11 กันยายน 2563 |work= ศิลปวัฒนธรรม |publisher=|accessdate= 28 มิถุนายน 2564}}</ref> เป็นอิทธิพลที่ได้รับจากฉลองพระองค์ของเจ้านายฝ่ายในจากราชสำนักรัสเซียและออสเตรีย<ref name="ศิลปะ"/> บางแห่งว่าได้รับอิทธิพลจากอังกฤษ[[ยุควิกตอเรีย]]<ref name="ไทยรัฐ">{{cite web |url= https://www.thairath.co.th/women/style/1756038 |title= จากเสื้อราชปะแตน สู่มาลานำชาติไทย สร้างเอกลักษณ์ใหม่ของชาติด้วยแฟชั่น |author=|date= 26 มกราคม 2562 |work= ไทยรัฐซันเดย์สเปเชียล |publisher=|accessdate= 28 มิถุนายน 2564}}</ref> ซึ่งเรียกลักษณะแขนเสื้อนี้ว่า Gigot sleeve หรือ Leg-of-mutton sleeve เป็นที่นิยมในหมู่สตรียุโรปช่วงต้นและปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19<ref name="โว้ก">{{cite web |url= https://www.vogue.co.th/fashion/article/wheregigotsleevecomes |title= เสื้อแขนหมูแฮมนี่มาจากไหนคะ |author=|date= 5 กันยายน 2561 |work= Vogue Thailand |publisher=|accessdate= 28 มิถุนายน 2564}}</ref> ตัวเสื้อประดับประดาด้วยลายลูกไม้เต็มที่ คอเสื้อตั้งสูง เอวจีบเข้ารูปพอดีตัว แต่งระบายลูกไม้ มีแผงระบายลูกไม้คลุมไหล่และอก<ref name="พีพี"/><ref name="มิวเซียม">{{cite web |url= https://www.museumthailand.com/th/3825/storytelling/ภูษาทรงเจ้าดารารัศมี/ |title= ภูษาทรงเจ้าดารารัศมี |author= เพ็ญสุภา สุขคตะ, ดร. |date=|work= Museum Thailand |publisher=|accessdate= 28 มิถุนายน 2564}}</ref> แต่คงเอกลักษณ์เดิมเอาไว้คือนุ่ง[[โจงกระเบน]] [[สไบ|สะพายแพร]] ไว้ผมทรงดอกกระทุ่ม สวมถุงเท้ายาว และสวม[[รองเท้าคัทชู]]หัวเหลี่ยมส้นเตี้ย หรือ[[รองเท้าบูต]]<ref name="พีพี"/><ref name="ไทยรัฐ"/> ยกเว้น[[เจ้าดารารัศมี พระราชชายา]]จะสวมเสื้อแขนหมูแฮมคู่กับการนุ่งซิ่นลุนตะยาอะฉิกเท่านั้น<ref name="มิวเซียม"/> นอกนั้นก็ประดับประดาไปด้วยเครื่องประดับ เช่น พัดแบบพับได้ของหญิงตะวันตก ต่างหูแบบหยดน้ำ สร้อยคอไข่มุกซ้อนกันหลายสาย ประดับเข็มกลัดพระนามาภิไธย พระนาม รูปดอกไม้ หรือสัตว์ โดยการแต่งกายนี้จะต้องใช้อัญมณีเข้าชุดกัน และเข้ากันได้กับสีของเครื่องแต่งกาย<ref name="พีพี"/> |
||
ใน[[ประเทศไทย]] ปรากฏการแต่งกายด้วยชุดลักษณะนี้ครั้งแรกในพระบรมฉายาลักษณ์[[สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]] และภาพของ[[เจ้าจอมมารดาชุ่ม ในรัชกาลที่ 5]] และเป็นที่นิยมในราชสำนักฝ่ายในช่วงปลายรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]<ref name="โว้ก"/> แต่ภายหลังได้สิ้นความนิยมลงในช่วงปลายรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว<ref name="พีพี"/> และเปลี่ยนไปสวมเสื้อแพรแขนยาวที่ไม่โปร่งตอนบนแบบแขนหมูแฮม<ref name="ศิลปะ1"/> |
|||
⚫ | พ.ศ. 2561 ปรากฏเครื่องแต่งกายของสมาชิกในมิวสิกวิดีโอ "[[คิมิวะเมโลดี#ฉบับบีเอ็นเคโฟร์ตีเอต|เธอคือ...เมโลดี้]]" ของ[[บีเอ็นเคโฟร์ตีเอต]] ซึ่งประยุกต์ไปจากเสื้อแขนหมูแฮม โดยเรียกชุดนั้นว่า "Siam Lolita" ออกแบบโดยจาตุรณ แร่เพชร ด้วยการนำโทนสี ลายผ้า การสะพายแพร และเข็มกลัดแบบไทยไปผสมกับวัฒนธรรมการแต่งกายแบบโลลิตา<ref>{{cite web |url= https://www.timeout.com/bangkok/th/music/คุยกับ-บอล-จาตุรณ-แร่เพชร-คอสตูมดีไซเนอร์เบื้องหลังชุด-siam-lolita-ของ-bnk48 |title= คุยกับ บอล-จาตุรณ แร่เพชร คอสตูมดีไซเนอร์เบื้อหลังชุด Siam Lolita ของ BNK48 |author=|date= 8 ตุลาคม 2561 |work= Time Out Thailand |publisher=|accessdate= 28 มิถุนายน 2564}}</ref> |
||
⚫ | พ.ศ. 2561 ปรากฏเครื่องแต่งกายของสมาชิกในมิวสิกวิดีโอ "[[คิมิวะเมโลดี#ฉบับบีเอ็นเคโฟร์ตีเอต|เธอคือ...เมโลดี้]]" ของ[[บีเอ็นเคโฟร์ตีเอต]] ซึ่งประยุกต์ไปจากเสื้อแขนหมูแฮม โดยเรียกชุดนั้นว่า "Siam Lolita" ออกแบบโดยจาตุรณ แร่เพชร ด้วยการนำโทนสี ลายผ้า การสะพายแพร และเข็มกลัดแบบไทยไปผสมกับวัฒนธรรมการแต่งกายแบบโลลิตา<ref>{{cite web |url= https://www.timeout.com/bangkok/th/music/คุยกับ-บอล-จาตุรณ-แร่เพชร-คอสตูมดีไซเนอร์เบื้องหลังชุด-siam-lolita-ของ-bnk48 |title= คุยกับ บอล-จาตุรณ แร่เพชร คอสตูมดีไซเนอร์เบื้อหลังชุด Siam Lolita ของ BNK48 |author=|date= 8 ตุลาคม 2561 |work= Time Out Thailand |publisher=|accessdate= 28 มิถุนายน 2564}}</ref> โดบบิณฑ์ บัวหมื่นชล ผู้กำกับมิวสิกวิดีโอนี้ กล่าวว่า "...อยากให้คนเห็นพัฒนาการความน่ารักแบบไทย ๆ ที่ไม่ต้องอยู่กับไทยเดิม แต่เป็นไทยประยุกต์ แนวคิดหลักมาจากญี่ปุ่นนั่นแหละ แต่ผมอยากได้ความเป็นไทยเพิ่มเข้าไป..."<ref name="อาสา">{{cite book | author = อาสา คำภา | title = รสไทย(ไม่)แท้: ถอดรูปทิพย์อาหารไทยในสนามการเมืองวัฒนธรรม | url = https://online.fliphtml5.com/aaept/dcim/?fbclid=IwAR3s1GRnn7XvWMqJiX6ZJpwaiwrOXWf5fnUigBCKLBJrqjF8vOFs4LYwTQk#p=353 | publisher = มติชน | location = กรุงเทพฯ | year =2565 | page = 349-350}}</ref> |
||
== ระเบียงภาพ == |
|||
<gallery mode=packed heights=200px> |
|||
ไฟล์:Saovabha Phongsri.jpg|[[สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]] ทรงฉลองพระองค์แขนหมูแฮม |
|||
ไฟล์:Sukhumala Marasri Queen consort of Siam.jpg|[[สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้า สุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี]] ทรงฉลองพระองค์แขนหมูแฮม |
|||
ไฟล์:Saisavali Bhiromya.jpg|[[พระวิมาดาเธอ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา]] ทรงฉลองพระองค์แขนหมูแฮม |
|||
ไฟล์:Sukumalmarsri and her cousin.jpg|[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารี|พระองค์เจ้าประดิษฐาสารี]] (ที่สองจากซ้าย) ฉลองพระองค์แขนหมูแฮม |
|||
ไฟล์:Consort Samlee and daughters.jpg|[[เจ้าคุณจอมมารดาสำลี]] (ที่สามจากซ้าย) สวมเสื้อแขนหมูแฮม |
|||
ไฟล์:Suddha Dibyaratana.jpg|[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสุทธาทิพยรัตน์ กรมหลวงศรีรัตนโกสินทร|สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงศรีรัตนโกสินทร]]ทรงฉลองพระองค์แขนหมูแฮม |
|||
ไฟล์:Thai princesses of the Inner Court.jpg|เจ้านายฝ่ายในฉลองพระองค์แขนหมูแฮม |
|||
ไฟล์:Princess Puang Soi Sa-ang.jpg|[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพวงสร้อยสอางค์|พระองค์เจ้าพวงสร้อยสอางค์]] ทรงฉลองพระองค์แขนหมูแฮม |
|||
ไฟล์:Chao Choms of the Inner Court.jpg|เจ้านายฝ่ายในฉลองพระองค์แขนหมูแฮม |
|||
ไฟล์:Chum Krairiksh, Saovabha Phongsri and Dagmar Lousie Lerche.jpg|[[เจ้าจอมมารดาชุ่ม ในรัชกาลที่ 5|เจ้าจอมมารดาชุ่ม]] (ซ้าย) สวมเสื้อแขนหมูแฮม |
|||
ไฟล์:พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารี.jpg|[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารี|พระองค์เจ้าประดิษฐาสารี]] ทรงฉลองพระองค์แขนหมูแฮม |
|||
</gallery> |
|||
== อ้างอิง == |
== อ้างอิง == |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 21:59, 8 มกราคม 2567
เสื้อแขนหมูแฮม หรือ ขาหมูแฮม เป็นเสื้อของไทยที่ได้อิทธิพลจากเครื่องแต่งกายหญิงชาวยุโรปช่วงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เป็นเสื้อเข้ารูปลายลูกไม้ มีลักษณะโดดเด่นคือบริเวณต้นแขนจะจีบพองฟู และค่อย ๆ แคบลงมาถึงข้อมือ[1][2]
เสื้อแขนหมูแฮมเป็นที่นิยมในราชสำนักสยาม ปรากฏครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2438[2]–2439[3] เป็นอิทธิพลที่ได้รับจากฉลองพระองค์ของเจ้านายฝ่ายในจากราชสำนักรัสเซียและออสเตรีย[1] บางแห่งว่าได้รับอิทธิพลจากอังกฤษยุควิกตอเรีย[4] ซึ่งเรียกลักษณะแขนเสื้อนี้ว่า Gigot sleeve หรือ Leg-of-mutton sleeve เป็นที่นิยมในหมู่สตรียุโรปช่วงต้นและปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19[5] ตัวเสื้อประดับประดาด้วยลายลูกไม้เต็มที่ คอเสื้อตั้งสูง เอวจีบเข้ารูปพอดีตัว แต่งระบายลูกไม้ มีแผงระบายลูกไม้คลุมไหล่และอก[2][6] แต่คงเอกลักษณ์เดิมเอาไว้คือนุ่งโจงกระเบน สะพายแพร ไว้ผมทรงดอกกระทุ่ม สวมถุงเท้ายาว และสวมรองเท้าคัทชูหัวเหลี่ยมส้นเตี้ย หรือรองเท้าบูต[2][4] ยกเว้นเจ้าดารารัศมี พระราชชายาจะสวมเสื้อแขนหมูแฮมคู่กับการนุ่งซิ่นลุนตะยาอะฉิกเท่านั้น[6] นอกนั้นก็ประดับประดาไปด้วยเครื่องประดับ เช่น พัดแบบพับได้ของหญิงตะวันตก ต่างหูแบบหยดน้ำ สร้อยคอไข่มุกซ้อนกันหลายสาย ประดับเข็มกลัดพระนามาภิไธย พระนาม รูปดอกไม้ หรือสัตว์ โดยการแต่งกายนี้จะต้องใช้อัญมณีเข้าชุดกัน และเข้ากันได้กับสีของเครื่องแต่งกาย[2]
ในประเทศไทย ปรากฏการแต่งกายด้วยชุดลักษณะนี้ครั้งแรกในพระบรมฉายาลักษณ์สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง และภาพของเจ้าจอมมารดาชุ่ม ในรัชกาลที่ 5 และเป็นที่นิยมในราชสำนักฝ่ายในช่วงปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว[5] แต่ภายหลังได้สิ้นความนิยมลงในช่วงปลายรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว[2] และเปลี่ยนไปสวมเสื้อแพรแขนยาวที่ไม่โปร่งตอนบนแบบแขนหมูแฮม[3]
พ.ศ. 2561 ปรากฏเครื่องแต่งกายของสมาชิกในมิวสิกวิดีโอ "เธอคือ...เมโลดี้" ของบีเอ็นเคโฟร์ตีเอต ซึ่งประยุกต์ไปจากเสื้อแขนหมูแฮม โดยเรียกชุดนั้นว่า "Siam Lolita" ออกแบบโดยจาตุรณ แร่เพชร ด้วยการนำโทนสี ลายผ้า การสะพายแพร และเข็มกลัดแบบไทยไปผสมกับวัฒนธรรมการแต่งกายแบบโลลิตา[7] โดบบิณฑ์ บัวหมื่นชล ผู้กำกับมิวสิกวิดีโอนี้ กล่าวว่า "...อยากให้คนเห็นพัฒนาการความน่ารักแบบไทย ๆ ที่ไม่ต้องอยู่กับไทยเดิม แต่เป็นไทยประยุกต์ แนวคิดหลักมาจากญี่ปุ่นนั่นแหละ แต่ผมอยากได้ความเป็นไทยเพิ่มเข้าไป..."[8]
ระเบียงภาพ
[แก้]-
สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงฉลองพระองค์แขนหมูแฮม
-
สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้า สุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี ทรงฉลองพระองค์แขนหมูแฮม
-
พระวิมาดาเธอ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา ทรงฉลองพระองค์แขนหมูแฮม
-
พระองค์เจ้าประดิษฐาสารี (ที่สองจากซ้าย) ฉลองพระองค์แขนหมูแฮม
-
เจ้าคุณจอมมารดาสำลี (ที่สามจากซ้าย) สวมเสื้อแขนหมูแฮม
-
สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงศรีรัตนโกสินทรทรงฉลองพระองค์แขนหมูแฮม
-
เจ้านายฝ่ายในฉลองพระองค์แขนหมูแฮม
-
พระองค์เจ้าพวงสร้อยสอางค์ ทรงฉลองพระองค์แขนหมูแฮม
-
เจ้านายฝ่ายในฉลองพระองค์แขนหมูแฮม
-
เจ้าจอมมารดาชุ่ม (ซ้าย) สวมเสื้อแขนหมูแฮม
-
พระองค์เจ้าประดิษฐาสารี ทรงฉลองพระองค์แขนหมูแฮม
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 "เล่าเรื่องเจ้านายกับชุดไทย แต่ละสมัยรับอิทธิพลจากไหนกันบ้าง". ศิลปวัฒนธรรม. 17 ธันวาคม 2563. สืบค้นเมื่อ 28 มิถุนายน 2564.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 ยุวดี วัชรางกูร (2560). "แฟชั่นสาวสยาม สมัยรัชกาลที่ ๕". พีพีทีวี. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-12-20. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2565.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ 3.0 3.1 "ประวัติแต่งกายสุภาพ เปลือยอกถึง "เสื้อลูกไม้" และที่มาสมัยร.3 "สวมเสื้อเข้ามาก็ไม่โปรด"". ศิลปวัฒนธรรม. 11 กันยายน 2563. สืบค้นเมื่อ 28 มิถุนายน 2564.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ 4.0 4.1 "จากเสื้อราชปะแตน สู่มาลานำชาติไทย สร้างเอกลักษณ์ใหม่ของชาติด้วยแฟชั่น". ไทยรัฐซันเดย์สเปเชียล. 26 มกราคม 2562. สืบค้นเมื่อ 28 มิถุนายน 2564.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ 5.0 5.1 "เสื้อแขนหมูแฮมนี่มาจากไหนคะ". Vogue Thailand. 5 กันยายน 2561. สืบค้นเมื่อ 28 มิถุนายน 2564.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ 6.0 6.1 เพ็ญสุภา สุขคตะ, ดร. "ภูษาทรงเจ้าดารารัศมี". Museum Thailand. สืบค้นเมื่อ 28 มิถุนายน 2564.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ "คุยกับ บอล-จาตุรณ แร่เพชร คอสตูมดีไซเนอร์เบื้อหลังชุด Siam Lolita ของ BNK48". Time Out Thailand. 8 ตุลาคม 2561. สืบค้นเมื่อ 28 มิถุนายน 2564.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ อาสา คำภา (2565). รสไทย(ไม่)แท้: ถอดรูปทิพย์อาหารไทยในสนามการเมืองวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: มติชน. p. 349-350.