ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร"

พิกัด: 13°45′16″N 100°29′30″E / 13.754382°N 100.491546°E / 13.754382; 100.491546
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thijs!bot (คุย | ส่วนร่วม)
robot Adding: de:Wat Mahathat (Bangkok)
Mastertongapollo (คุย | ส่วนร่วม)
 
(ไม่แสดง 46 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 28 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล พุทธศาสนสถาน
{{วิกิประเทศไทย}}
| full_name = วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร
{| border=1 align=right cellpadding=2 cellspacing=0 width="40%" style="margin: 0 0 1em 1em; background: #f9f9f9; border: 1px #aaa solid; border-collapse: collapse;"
| common_name = วัดมหาธาตุ
!align="center" bgcolor="#FFEDCC" colspan="2"|<big>วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร</big>
| image_temple = Wat Mahathat, Bangkok 20231209 (III).jpg
|-
| short_describtion = พระมณฑปซึ่งตั้งอยู่ระหว่างพระอุโบสถ (ซ้าย) และพระวิหาร (ขวา) เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2566
|align="center" colspan="2"|[[ภาพ:Wat mahathat bkk 05.jpg|200px|วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร]]
| type_of_place = พระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร
|-
| branch = [[เถรวาท]] [[มหานิกาย]]
!align="center" bgcolor="#FFEDCC" colspan="2"|วัดมหาธาตุ
| special_things = มหาวิทยาลัยสงฆ์แห่งที่ 2 ของไทย
|-
| principal_buddha =
!colspan="1" align="left" valign="top"|ที่ตั้ง
| important_buddha =
|colspan="1" valign="top"|[[แขวงพระบรมมหาราชวัง]]<br>[[เขตพระนคร]] [[กรุงเทพมหานคร]] 10300
| pre_road =
|-
| road_name =
!colspan="1" align="left" valign="top"|ความสำคัญ
| sub_district = แขวงพระบรมมหาราชวัง
|colspan="1" valign="top"|พระอารามหลวง ชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร 1 ใน 6 ของไทย และเป็นมหาวิทยาลัยสงฆ์แห่งที่ 2 ของไทย คือ [[มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย]] (มจร.)
| district = เขตพระนคร
|-
| province = กรุงเทพมหานคร
!colspan="1" align="left" valign="top"|นิกาย
| zip_code = 10200
|colspan="1" valign="top"|มหานิกาย
| abbot = [[พระพรหมวชิราธิบดี (พีร์ สุชาโต)]]
|-
| pass_buses =
|}
| pass_boats =
| pass_rails =
| open_time =
| entrance_fee =
| shouldnt_miss =
| activities =
| local_tourguide =
| foods_beverages =
| do_not_do =
| photography =
| car_parks =
| local_attraction =
| website = http://www.watmahathat.com/
| footnote =
{{Infobox historic site|embed=yes
| designation1 = THAILAND
| designation1_offname = วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร
| designation1_date = 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492
| designation1_partof = [[รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร|โบราณสถานในเขตกรุงเทพมหานคร]]
| designation1_number = 0000062 }}
}}
{{multiple image
| align = right
| direction = horizontal
| width = 220
| header = [[วิหาร]]และ[[อุโบสถ]]
| image1 = Wat Mahathat, Bangkok 20231209.jpg
| alt1 =
| caption1 = พระวิหารหลวง
| image2 = Wat Mahathat, Bangkok 20231209 (II).jpg
| alt2 =
| caption2 = พระอุโบสถ
}}
{{multiple image
| align = right
| direction = horizontal
| width = 220
| header = พระประธาน
| image1 = Phra Sri Sakayamunee Wat Mahathat (Bangkok).jpg
| alt1 =
| caption1 = '''พระศรีสักยมุนี''' หรือ '''พระศรีศากยมุนี (หลวงพ่อโต)''' พระประธานในพระวิหารหลวง
| image2 = Phra Si Sanphet.jpg
| alt2 =
| caption2 = '''พระศรีสรรเพชญ์''' พระประธานในพระอุโบสถ
}}
'''วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร''' เป็น[[พระอารามหลวง]]ชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร เดิมเป็นวัดราษฎร์ ชื่อ '''วัดสลัก''' สร้างใน[[สมัยอยุธยา]] ส่วนในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] เมื่อทรงสถาปนา[[กรุงรัตนโกสินทร์]]เป็น[[ราชธานี]] และทรงสร้าง[[พระบรมมหาราชวัง]]เป็นที่ประทับ และสร้าง[[พระราชวังบวรสถานมงคล]]เป็นที่ประทับ[[สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท]] [[กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]] นั้น วัดสลักเป็นวัดที่อยู่กึ่งกลางระหว่าง[[พระบรมมหาราชวัง]]กับ[[พระราชวังบวรสถานมงคล]] สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทโปรดให้บูรณปฏิสังขรณ์วัดสลักเมื่อ พ.ศ. 2326 พร้อมกับการก่อสร้างพระราชวังบวรสถานมงคล จากนั้นทรงเปลี่ยนชื่อวัดจากวัดสลักเป็นวัดนิพพานาราม เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้ใช้วัดนิพพานารามเป็นสถานที่ทำ[[สังคายนาในศาสนาพุทธ|สังคายนา]]ในปี [[พ.ศ. 2331]] ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามวัดใหม่ว่า “วัดพระศรีสรรเพชญ” และใน พ.ศ. 2346 พระราชทานนามใหม่ว่าวัดพระศรีรัตนมหาธาตุราชวรมหาวิหาร ตามชื่อวัดในกรุงศรีอยุธยาที่เป็นที่ประดิษฐาน[[พระบรมสารีริกธาตุ]]และเป็นที่ประทับของ[[สมเด็จพระสังฆราช]]


วัดมหาธาตุเป็นสถานที่ที่ใช้เป็นที่พระราชทานเพลิงพระบุพโพเจ้านายซึ่งดำรงพระเกียรติยศสูง ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้าฯ ให้ใช้พื้นที่ของวัดเป็นที่สร้างเมรุพระราชทานเพลิงพระศพพระบรมวงศ์ชั้นสูง ในปลาย พ.ศ. 2432 โปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งบาลีวิทยาลัยที่วัดมหาธาตุ เรียกว่ามหาธาตุวิทยาลัย และย้ายการบอกพระปริยัติธรรมมาจาก[[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]] ต่อมา ใน [[พ.ศ. 2437]] โปรดเกล้าฯ ให้สร้างอาคารถาวรวัตถุ เรียกว่า สังฆิกเสนาสน์ราชวิทยาลัย เพื่อใช้ในงานพระบรมศพ[[สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร]] หลังจากนั้น จะทรงอุทิศถวายแก่มหาธาตุวิทยาลัย เพื่อเป็นที่เรียนพระปริยัติธรรมชั้นสูง ซึ่งจะได้พระราชทานนามว่า “[[มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย]]” แต่อาคารหลังนี้มาสร้างเสร็จในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] และงานพระบรมศพสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงจัดที่[[วัดบวรสถานสุทธาวาส]] ใน พ.ศ. 2439 โปรดเกล้าฯ พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ในการบูรณะวัดมหาธาตุและพระราชทานนามว่า “วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์”
'''วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร''' เป็นวัดโบราณ สร้างในสมัยอยุธยา เดิมเรียกว่าวัดสลัก ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] เมื่อทรงตั้ง[[กรุงรัตนโกสินทร์]]เป็น[[ราชธานี]] และทรงสร้าง[[พระบรมมหาราชวัง]]เป็นที่ประทับและสร้าง[[พระราชวังบวรสถานมงคล]]เป็นที่ประทับ[[สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท]] กรมพระราชวังบวรสถานมงคล นั้น วัดสลักเป็นวัดที่อยู่กึ่งกลางระหว่างพระบรมมหาราชวังกับพระราชวังบวรสถานมงคล สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทโปรดให้บูรณปฏิสังขรณ์วัดสลักเมื่อ [[พ.ศ. 2326]] พร้อมกับการก่อสร้างพระราชวังบวรสถานมงคล จากนั้นทรงเปลี่ยนชื่อวัดจากวัดสลัก เป็น วัดนิพพานาราม เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้ใช้วัดนิพพานารามเป็นสถานที่สังคายนา[[พระไตรปิฎก]]ใน [[พ.ศ. 2331]] ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามวัดใหม่ว่า “วัดพระศรีสรรเพชญ” และใน [[พ.ศ. 2346]] พระราชทานนามใหม่ว่า วัดพระศรีรัตนมหาธาตุราชวรมหาวิหาร ตามชื่อวัดในกรุงศรีอยุธยาที่เป็นที่ประดิษฐาน[[พระบรมสารีริกธาตุ]]และเป็นที่ประทับของ[[สมเด็จพระสังฆราช]]


== ลำดับอธิบดีสงฆ์ ==
วัดมหาธาตุเป็นสถานที่ที่ใช้เป็นที่พระราชทานเพลิงพระบุพโพเจ้านายซึ่งดำรงพระเกียรติยศสูง ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้าฯ ให้ใช้พื้นที่ของวัดเป็นที่สร้างเมรุพระราชทานเพลิงพระศพพระบรมวงศ์ชั้นสูง ในปลาย [[พ.ศ. 2432]] โปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งบาลีวิทยาลัยที่วัดมหาธาตุ เรียกว่ามหาธาตุวิทยาลัย และย้ายการบอกพระปริยัติธรรมมาจาก[[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]] ต่อมา ใน [[พ.ศ. 2437]] โปรดเกล้าฯ ให้สร้างอาคารถาวรวัตถุ เรียกว่า สังฆิกเสนาสน์ราชวิทยาลัย เพื่อใช้ในงานพระศพสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร หลังจากนั้น จะทรงอุทิศถวายแก่มหาธาตุวิทยาลัย เพื่อเป็นที่เรียนพระปริยัติธรรมชั้นสูง ซึ่งจะได้พระราชทานนามว่า “มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย” แต่อาคารหลังนี้มาสร้างเสร็จในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] และงานพระศพ[[สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร]] ทรงจัดที่วัดบวรสถานสุทธาวาส ใน [[พ.ศ. 2439]] โปรดเกล้าฯ พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ในการบูรณะวัดมหาธาตุและพระราชทานนามว่า “วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์”
{|class="wikitable"
|-
! '''ลำดับที่''' || '''รายนาม''' || เริ่มวาระ || สิ้นสุดวาระ
|-
| 1 || [[สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ศุข)]] || พ.ศ. 2336 || พ.ศ. 2359
|-
| 2 || [[สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (มี)]] || พ.ศ. 2359 || พ.ศ. 2362
|-
| 3 || [[พระอาจารย์อาจ พนรัตน|สมเด็จพระพนรัตน (อาจ)]] || พ.ศ. 2362 || พ.ศ. 2363
|-
| 4 || [[สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สุก ญาณสังวร)]] || พ.ศ. 2363 || พ.ศ. 2365
|-
| 5 || [[สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ด่อน)]] || พ.ศ. 2365 || พ.ศ. 2385
|-
| 6 || [[สมเด็จพระพุฒาจารย์ (พุก)|พระญาณไตรโลก (พุก)]] || พ.ศ. 2386 || พ.ศ. 2393
|-
| 7 || [[สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฉิม)]] || พ.ศ. 2394 || พ.ศ. 2400
|-
| 8 || [[พระราชกวี (คง)]] || พ.ศ. 2400 || ?
|-
| 9 || [[พระศาสนานุรักษ์ (รัก)]] || ? || ?
|-
| 10 || [[พระญาณสมโพธิ (อิ่ม)]] || ? || ?
|-
| 11 || [[พระคุณาจริยาวัตร (คำ)]] || ? || ?
|-
| 12 || [[พระญาณสมโพธิ (คำ)]] || ? || พ.ศ. 2432
|-
| 13 || [[สมเด็จพระวันรัต (ฑิต อุทโย)]] || พ.ศ. 2432 || พ.ศ. 2466
|-
| 14 || [[สมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี)]] || พ.ศ. 2466 || พ.ศ. 2486
|-
| 15 || [[พระพิมลธรรม (ช้อย ฐานทตฺโต)]] || พ.ศ. 2486 || พ.ศ. 2490
|-
| 16 || [[สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ)]] || พ.ศ. 2490<br/ >พ.ศ. 2523 || พ.ศ. 2503 (สมัยที่ 1)<br/ > พ.ศ. 2532 (สมัยที่ 2)
|-
| 17 || [[พระธรรมปัญญาบดี (สวัสดิ์ กิตฺติสาโร)]] || พ.ศ. 2503 || พ.ศ. 2523
|-
| 18 || [[พระสุเมธาธิบดี (บุญเลิศ ทตฺตสุทฺธิ)]] || พ.ศ. 2533 || พ.ศ. 2547
|-
| 19 || [[พระพรหมวชิราธิบดี (พีร์ สุชาโต)]] || พ.ศ. 2547 || (ยังดำรงตำแหน่ง)
|}


== รูปภาพ ==
<gallery>
ไฟล์:พระอุโบสถวัดมหาธาตุ.jpg|พระอุโบสถ
ไฟล์:ภายในพระอุโบสถวัดมหาธาตุ.jpg|ภายในพระอุโบสถ
ไฟล์:พระวิหารวัดมหาธาตุ.jpg|พระวิหาร
ไฟล์:พระมณฑปวัดมหาธาตุ.jpg|พระมณฑป
ไฟล์:พระเจดีย์ทองศรีรัตนมหาธาตุ ภายในพระมณฑปวัดมหาธาตุ.jpg|พระเจดีย์ทองศรีรัตนมหาธาตุ ภายในพระมณฑป
</gallery>

== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Wat Mahathat (Bangkok)}}
{{geolinks-bldg|13.754382|100.491546}}
{{ภาพถ่ายทางอากาศ|url=http://maps.google.com/maps?t=k&q=Thailand&ll=13.754382,100.491546&spn=0.004773,0.010729&t=k}}
{{ภาพถ่ายทางอากาศ|url=http://maps.google.com/maps?t=k&q=Thailand&ll=13.754382,100.491546&spn=0.004773,0.010729&t=k}}


{{พระอารามหลวงชั้นเอก}}

{{เรียงลำดับ|มหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์}}
[[หมวดหมู่:พระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร]]
[[หมวดหมู่:พระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร]]
[[หมวดหมู่:วัดในกรุงเทพมหานคร|มหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร]]
[[หมวดหมู่:วัดในเขตพระนคร]]
[[หมวดหมู่:วัดในเขตพระนคร]]
[[หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยา]]

[[หมวดหมู่:วัดไทยในสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย]]
[[de:Wat Mahathat (Bangkok)]]
[[หมวดหมู่:โบราณสถานในเขตพระนคร]]
[[en:Wat Mahathat, Bangkok]]
{{วัดในศตวรรษ}}
{{โครงวัดไทย}}

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 22:24, 7 สิงหาคม 2567

วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร
พระมณฑปซึ่งตั้งอยู่ระหว่างพระอุโบสถ (ซ้าย) และพระวิหาร (ขวา) เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2566
แผนที่
ชื่อสามัญวัดมหาธาตุ
ที่ตั้งแขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200
ประเภทพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร
นิกายเถรวาท มหานิกาย
เจ้าอาวาสพระพรหมวชิราธิบดี (พีร์ สุชาโต)
ความพิเศษมหาวิทยาลัยสงฆ์แห่งที่ 2 ของไทย
เว็บไซต์http://www.watmahathat.com/
หมายเหตุ
ชื่อที่ขึ้นทะเบียนวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร
ขึ้นเมื่อ22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492
เป็นส่วนหนึ่งของโบราณสถานในเขตกรุงเทพมหานคร
เลขอ้างอิง0000062
icon สถานีย่อยพระพุทธศาสนา
พระวิหารหลวง
พระอุโบสถ
พระประธาน
พระศรีสักยมุนี หรือ พระศรีศากยมุนี (หลวงพ่อโต) พระประธานในพระวิหารหลวง
พระศรีสรรเพชญ์ พระประธานในพระอุโบสถ

วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร เดิมเป็นวัดราษฎร์ ชื่อ วัดสลัก สร้างในสมัยอยุธยา ส่วนในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เมื่อทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานี และทรงสร้างพระบรมมหาราชวังเป็นที่ประทับ และสร้างพระราชวังบวรสถานมงคลเป็นที่ประทับสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท กรมพระราชวังบวรสถานมงคล นั้น วัดสลักเป็นวัดที่อยู่กึ่งกลางระหว่างพระบรมมหาราชวังกับพระราชวังบวรสถานมงคล สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทโปรดให้บูรณปฏิสังขรณ์วัดสลักเมื่อ พ.ศ. 2326 พร้อมกับการก่อสร้างพระราชวังบวรสถานมงคล จากนั้นทรงเปลี่ยนชื่อวัดจากวัดสลักเป็นวัดนิพพานาราม เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้ใช้วัดนิพพานารามเป็นสถานที่ทำสังคายนาในปี พ.ศ. 2331 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามวัดใหม่ว่า “วัดพระศรีสรรเพชญ” และใน พ.ศ. 2346 พระราชทานนามใหม่ว่าวัดพระศรีรัตนมหาธาตุราชวรมหาวิหาร ตามชื่อวัดในกรุงศรีอยุธยาที่เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุและเป็นที่ประทับของสมเด็จพระสังฆราช

วัดมหาธาตุเป็นสถานที่ที่ใช้เป็นที่พระราชทานเพลิงพระบุพโพเจ้านายซึ่งดำรงพระเกียรติยศสูง ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้ใช้พื้นที่ของวัดเป็นที่สร้างเมรุพระราชทานเพลิงพระศพพระบรมวงศ์ชั้นสูง ในปลาย พ.ศ. 2432 โปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งบาลีวิทยาลัยที่วัดมหาธาตุ เรียกว่ามหาธาตุวิทยาลัย และย้ายการบอกพระปริยัติธรรมมาจากวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ต่อมา ใน พ.ศ. 2437 โปรดเกล้าฯ ให้สร้างอาคารถาวรวัตถุ เรียกว่า สังฆิกเสนาสน์ราชวิทยาลัย เพื่อใช้ในงานพระบรมศพสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร หลังจากนั้น จะทรงอุทิศถวายแก่มหาธาตุวิทยาลัย เพื่อเป็นที่เรียนพระปริยัติธรรมชั้นสูง ซึ่งจะได้พระราชทานนามว่า “มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย” แต่อาคารหลังนี้มาสร้างเสร็จในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และงานพระบรมศพสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงจัดที่วัดบวรสถานสุทธาวาส ใน พ.ศ. 2439 โปรดเกล้าฯ พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ในการบูรณะวัดมหาธาตุและพระราชทานนามว่า “วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์”

ลำดับอธิบดีสงฆ์

[แก้]
ลำดับที่ รายนาม เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ศุข) พ.ศ. 2336 พ.ศ. 2359
2 สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (มี) พ.ศ. 2359 พ.ศ. 2362
3 สมเด็จพระพนรัตน (อาจ) พ.ศ. 2362 พ.ศ. 2363
4 สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สุก ญาณสังวร) พ.ศ. 2363 พ.ศ. 2365
5 สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ด่อน) พ.ศ. 2365 พ.ศ. 2385
6 พระญาณไตรโลก (พุก) พ.ศ. 2386 พ.ศ. 2393
7 สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฉิม) พ.ศ. 2394 พ.ศ. 2400
8 พระราชกวี (คง) พ.ศ. 2400 ?
9 พระศาสนานุรักษ์ (รัก) ? ?
10 พระญาณสมโพธิ (อิ่ม) ? ?
11 พระคุณาจริยาวัตร (คำ) ? ?
12 พระญาณสมโพธิ (คำ) ? พ.ศ. 2432
13 สมเด็จพระวันรัต (ฑิต อุทโย) พ.ศ. 2432 พ.ศ. 2466
14 สมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี) พ.ศ. 2466 พ.ศ. 2486
15 พระพิมลธรรม (ช้อย ฐานทตฺโต) พ.ศ. 2486 พ.ศ. 2490
16 สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ) พ.ศ. 2490
พ.ศ. 2523
พ.ศ. 2503 (สมัยที่ 1)
พ.ศ. 2532 (สมัยที่ 2)
17 พระธรรมปัญญาบดี (สวัสดิ์ กิตฺติสาโร) พ.ศ. 2503 พ.ศ. 2523
18 พระสุเมธาธิบดี (บุญเลิศ ทตฺตสุทฺธิ) พ.ศ. 2533 พ.ศ. 2547
19 พระพรหมวชิราธิบดี (พีร์ สุชาโต) พ.ศ. 2547 (ยังดำรงตำแหน่ง)

รูปภาพ

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]

13°45′16″N 100°29′30″E / 13.754382°N 100.491546°E / 13.754382; 100.491546