ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2549"
หน้าตา
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แทนที่เนื้อหาด้วย "{{จัดรูปแบบ}} {{กล่องข้อมูล การเลือกตั้ง | election_name = การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2549 | country = ไทย | previous_election = การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 254..." ป้ายระบุ: ถูกแทน แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่ |
ย้อนการแก้ไขที่ 11801210 สร้างโดย 2001:FB1:6D:56E4:9567:8FCF:5085:9F44 (พูดคุย) ป้ายระบุ: ทำกลับ |
||
(ไม่แสดง 7 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 4 คน) | |||
บรรทัด 20: | บรรทัด 20: | ||
'''การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2549''' เป็นการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาตาม[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540]] ที่กำหนดให้'''สมาชิก[[วุฒิสภา]]''' หรือ '''ส.ว.''' มาจากการเลือกตั้งทั่วไป ประกอบด้วย ส.ว. จำนวน 200 คน แบ่งตามจังหวัดต่างๆ ตามจำนวนประชากร ผู้มีสิทธิเลือกตั้งจะเลือก ส.ว.ได้ 1 คน |
'''การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2549''' เป็นการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาตาม[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540]] ที่กำหนดให้'''สมาชิก[[วุฒิสภา]]''' หรือ '''ส.ว.''' มาจากการเลือกตั้งทั่วไป ประกอบด้วย ส.ว. จำนวน 200 คน แบ่งตามจังหวัดต่างๆ ตามจำนวนประชากร ผู้มีสิทธิเลือกตั้งจะเลือก ส.ว.ได้ 1 คน |
||
สมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการเลือกตั้งครั้งแรก เมื่อปี พ.ศ. 2543 จะครบวาระในวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2549 และรัฐธรรมนูญได้กำหนดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาขึ้นภายใน 30 วัน โดยผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่อายุครบ 18 ปีบริบูรณ์หรือเกิดก่อนวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2531 จะต้องไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้งใน '''วันพุธที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2549'''<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2549/00183815.PDF พระราชกฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2549 (19 เมษายน 2549)]</ref>ผลการเลือกตั้งส่งผลให้ได้ |
สมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการเลือกตั้งครั้งแรก เมื่อปี พ.ศ. 2543 จะครบวาระในวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2549 และรัฐธรรมนูญได้กำหนดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาขึ้นภายใน 30 วัน โดยผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่อายุครบ 18 ปีบริบูรณ์หรือเกิดก่อนวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2531 จะต้องไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้งใน '''วันพุธที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2549'''<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2549/00183815.PDF พระราชกฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2549 (19 เมษายน 2549)]</ref>ผลการเลือกตั้งส่งผลให้ได้[[วุฒิสภาไทย ชุดที่ 9]]จำนวน180คน เนื่องจากกกต.ยังไม่ได้รับรองผลการเลือกตั้งอีก20คนก็เกิดการรัฐประหารเสียก่อน |
||
== ดูเพิ่มเติม== |
== ดูเพิ่มเติม== |
||
[[หมวดหมู่:การเลือกตั้งใน พ.ศ. 2549]] |
[[หมวดหมู่:การเลือกตั้งใน พ.ศ. 2549]] |
||
[[หมวดหมู่:ประเทศไทยในปี พ.ศ. 2549]] |
[[หมวดหมู่:ประเทศไทยในปี พ.ศ. 2549]] |
||
{{โครงการเมือง}} |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 20:19, 5 ตุลาคม 2567
บทความนี้หรือส่วนนี้ของบทความต้องการปรับรูปแบบ ซึ่งอาจหมายถึง ต้องการจัดรูปแบบข้อความ จัดหน้า แบ่งหัวข้อ จัดลิงก์ภายใน และ/หรือการจัดระเบียบอื่น ๆ คุณสามารถช่วยแก้ไขปัญหานี้ได้โดยการกดที่ปุ่ม แก้ไข ด้านบน จากนั้นปรับปรุงหรือจัดรูปแบบอื่น ๆ ในบทความให้เหมาะสม |
| |||
200 ที่นั่งในวุฒิสภาไทย | |||
---|---|---|---|
| |||
|
การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2549 เป็นการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ที่กำหนดให้สมาชิกวุฒิสภา หรือ ส.ว. มาจากการเลือกตั้งทั่วไป ประกอบด้วย ส.ว. จำนวน 200 คน แบ่งตามจังหวัดต่างๆ ตามจำนวนประชากร ผู้มีสิทธิเลือกตั้งจะเลือก ส.ว.ได้ 1 คน
สมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการเลือกตั้งครั้งแรก เมื่อปี พ.ศ. 2543 จะครบวาระในวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2549 และรัฐธรรมนูญได้กำหนดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาขึ้นภายใน 30 วัน โดยผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่อายุครบ 18 ปีบริบูรณ์หรือเกิดก่อนวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2531 จะต้องไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้งใน วันพุธที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2549[1]ผลการเลือกตั้งส่งผลให้ได้วุฒิสภาไทย ชุดที่ 9จำนวน180คน เนื่องจากกกต.ยังไม่ได้รับรองผลการเลือกตั้งอีก20คนก็เกิดการรัฐประหารเสียก่อน