ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กุมภกรรณ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปอุปกรณ์เคลื่อนที่
อมฤตาลัย (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่
 
(ไม่แสดง 23 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 15 คน)
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
| name = กุมภกรรณ
| name = กุมภกรรณ
| series = [[รามเกียรติ์]]
| series = [[รามเกียรติ์]]
| image = [[File:Waking up Kumbhakarna.jpg|250px|Wa king up Kumbhakarna]]
| image = [[ไฟล์:Kumbhakarna.jpg|250px]]
| caption =
| caption = เหล่ายักษ์กำลังปลุกกุมภกรรณให้ตื่น
| first =
| first =
| last =
| last =
บรรทัด 26: บรรทัด 26:
| gender = ผู้
| gender = ผู้
| occupation =
| occupation =
| title = อุปราชกรุงลงกา
| title = พระมหาอุปราชแห่งกรุงลงกา
| family =
| family =
| spouse = [[นางจันทวดี]]
| spouse = [[นางจันทวดี]]
| significantother =
| significantother =
| children =
| children =
| relatives = [[ท้าวลัสเตียน]] (บิดา)<br/>[[นางรัชฎา]] (มารดา)<br/>[[ทศกัณฐ์]] (พี่ชาย)<br/>[[พิเภก]]<br/>[[พระยาขร|ขร]]<br/>[[พระยาทูษณ์|ทูษณ์]]<br/>[[ตรีเศียร]] (น้องชาย)<br/>[[นางสำมนักขา]] (น้องสาว)
| relatives = [[ท้าวลัสเตียน]] (บิดา)<br/>[[นางรัชฎา]] (มารดา)<br/>[[ทศกัณฐ์]] (พี่ชาย)<br/>[[พิเภก]] (น้องชาย)<br/>[[พระยาขร|ขร]] (น้องชาย)<br/>[[พระยาทูษณ์|ทูษณ์]] (น้องชาย)<br/>[[ตรีเศียร]] (น้องชาย)<br/>[[นางสำมนักขา]] (น้องสาว)
| religion =
| religion =
| nationality =
| nationality =
บรรทัด 49: บรรทัด 49:
}}
}}


'''กุมภกรรณ''' ([[สันสกฤต]]: कुम्भकर्ण) เป็นโอรสของ[[ท้าวลัสเตียน]]และ[[นางรัชฎา]] มีศักดิ์เป็นน้องแท้ ๆ ของ[[ทศกัณฐ์]] มีหน้าและกายสีเขียว ชายาชื่อนางจันทวดี เป็นยักษ์ที่มีฤทธิ์มากที่สุดตนหนึ่ง มีอาวุธร้ายประจำกาย คือ หอกโมกขศักดิ์ ที่จริงแล้วเป็นยักษ์ที่ตั้งมั่นในธรรม แต่ต้องออกรบช่วยทศกัณฐ์เพราะเห็นแก่ความเป็นพี่น้อง
'''กุมภกรรณ''' ([[สันสกฤต]]: कुम्भकर्ण, กุมฺภกรฺณ) มี 4 หน้า 2 มือ เป็นโอรสของ[[ท้าวลัสเตียน]]และ[[นางรัชฎา]] มีศักดิ์เป็นน้องของ[[ทศกัณฐ์]] มีกายสีเขียว มีอาวุธร้ายประจำกายคือหอกโมกขศักดิ์ที่ฝากไว้กับพระพรหม เหตุที่ชื่อกุมภกรรณ (หูหม้อ) นั้นเพราะมีร่างกายใหญ่โตมาก สามารถเอาหม้อใส่ใบหูได้


กุมภกรรณเป็นยักษ์ที่ตั้งมั่นในศีลธรรม เคยทัดทานทศกัณฐ์ให้นำนางสีดาคืนพระราม แต่ถูกทศกัณฐ์โกรธมากและเกือบถูกขับไล่ออกจากเมืองเช่นเดียวกับ[[พิเภก]] จึงต้องจำใจออกรบช่วยทศกัณฐ์เพราะเห็นแก่ความเป็นพี่น้อง กุมภกรรณได้แสดงความสามารถในการรบจนทำให้ทัพพระรามเดือดร้อนอยู่หลายครั้ง ได้แก่ วางอุบายลวง[[สุครีพ]]ถอนต้นรัง ทำพิธีลับหอกโมกขศักดิ์ แต่ถูก[[หนุมาน]]และ[[องคต]]ทำลายพิธี รบกับ[[พระลักษมณ์]]และพุ่งหอกโมกขศักดิ์ถูกพระลักษมณ์จนเกือบสิ้นชีวิต ทำพิธีทดน้ำให้กองทัพพระรามอดน้ำตาย แต่ถูกหนุมานทำลายพิธี สุดท้ายกุมภกรรณสู้รบกับ[[พระราม]] เพลี่ยงพล้ำถูกศรพระรามฆ่าตาย ก่อนตายได้เห็นพระรามปรากฏเป็นพระนารายณ์ จึงขอขมาให้พระรามอโหสิกรรมให้และสั่งเสียให้พิเภกจงรักภักดีต่อพระราม หลังจากกุมภกรรณสิ้นชีพแล้ว ได้ไปเกิดเป็นเทวดาบนสวรรค์
เคยแสดงฤทธิ์ในสมรภูมิรบถึง 4 ครั้ง ครั้งแรกรบกับ[[สุครีพ]] โดยวางอุบายลวงสุครีพถอนต้นรัง ครั้งที่สอง ทำพิธีลับหอกโมกขศักดิ์ แต่ถูก[[หนุมาน]]และ[[องคต]]ทำลายพิธี ครั้งที่สาม ทำพิธีทดน้ำ แต่ไม่สำเร็จเพราะถูกขัดขวางจากหนุมานและกุมภกรรณแทงหอกโมกขศักดิ์ใส่[[พระลักษมณ์]]จนเกือบสิ้นชีวิต และครั้งที่สี่สู้รบกับ[[พระราม]] แต่ก็เพลี่ยงพล้ำถูกศรพระรามฆ่าตาย เหตุที่ชื่อ กุมภกรรณ (หูหม้อ) นั้นเพราะมีร่างกายใหญ่โตมาก สามารถเอาหม้อใส่ใบหูได้

กุมภกรรณในรามายณะมีลักษณะคล้ายกุมภกรรณในรามเกียรติ์ คือเป็นคนซื่อสัตย์เที่ยงธรรม แต่ในรามายณะ กุมกรรณได้เคยขอพรพระพรหมให้ตนเองมีสภาพคล้ายพระวิษณุ คือนอนหลับอยู่เป็นเวลานานจึงตื่นเพียงวันเดียว และหยั่งรู้ความเป็นไปของโลกในการนอนหลับนั้น ดังนั้นเมื่อทศกัณฐ์ปลุกกุมภกรรณให้ไปรบกับพระนารายณ์นั้น กุมภกรรณย่อมรู้ว่าพระรามนั้นที่แท้คือพระวิษณุและตนไม่มีทางรบชนะเด็ดขาด แต่ด้วยหน้าที่ของการเป็นทหาร กุมภกรรณยังคงตัดสินใจไปรบโดยทูลทศกัณฐ์ว่า ถ้าตนตายในการรบก็ขอให้ทศกัณฐ์ยอมแพ้เสีย เพราะถ้าตนรบชนะไม่ได้ก็ย่อมไม่มีใครในลงการบชนะพระรามได้


== คำบริภาษของกุมภกรรณ ==
== คำบริภาษของกุมภกรรณ ==


เมื่อกุมภกรรณออกรบกับพระรามนั้น ได้ตั้งปริศนาถามพระรามไว้บอกว่าถ้าพระรามตอบได้จะยอมเลิกทัพกลับ ปริศนาถามว่า ชีโฉด หญิงโหด ช้างงารี ชายทรชน สี่อย่างนี้คืออะไร พระรามตอบไม่ได้จึงใช้องคตมาถาม กุมภกรรณจึงเฉลยว่า
เมื่อกุมภกรรณออกรบกับพระรามนั้น ได้ตั้งปริศนาถามพระรามไว้บอกว่าถ้าพระรามตอบได้จะยอมเลิกทัพกลับ ปริศนาถามว่า '''ชีโฉด หญิงโหด ช้างงารี ชายทรชน สี่อย่างนี้คืออะไร''' พระรามตอบไม่ได้จึงใช้องคตมาถาม กุมภกรรณจึงเฉลยว่า


ชีโฉด คือพระรามที่เพื่อแย่งชิงนางสีดากลับ ถึงกับยกทัพใหญ่มาทำการวุ่นวาย ทำให้คนบริสุทธิ์มากมายเดือดร้อน
*ชีโฉด คือ พระรามที่เพื่อแย่งชิงนางสีดากลับ ถึงกับยกทัพใหญ่มาทำการวุ่นวาย ทำให้คนบริสุทธิ์มากมายเดือดร้อน
*หญิงโหด คือ นางสำมะนักขาที่คิดเอาพระรามเป็นสามี พอไม่ได้ก็และยุยงให้พี่น้องมารบกับพระรามจนเกิดเรื่อง
*ช้างงารี คือ ทศกัณฐ์ที่เกะกะอันธพาล ไปแย่งเมียคนอื่น
*ชายทรชน คือ พิเภกที่ไม่รู้จักบุญคุณพี่น้อง ไปบอกความลับของฝ่ายลงกาแก่ศัตรู เหมือนแกล้งฆ่าพี่น้องทุกคน


คำบริภาษนี้เป็นของปราชญ์ไทยแต่งขึ้นโดยไม่มีในรามายณะต้นฉบับ ได้เป็นคำบริภาษทุกฝ่ายอย่างยุติธรรมตามมุมมองของกุมภกรรณ หรืออาจเรียกได้ว่าเป็นมุมมองของกวีที่สอดแทรกไว้ก็ได้
หญิงโหด คือนางสำมะนักขาที่คิดเอาพระรามเป็นสามี พอไม่ได้ก็และยุยงให้พี่น้องมารบกับพระรามจนเกิดเรื่อง


== บทบาทในรามายณะ ==
ช้างงารี คือทศกัณฐ์ที่เกะกะอันธพาล ไปแย่งเมียคนอื่น
ในรามายณะ เรียกกุมภกรรณ ว่า "กุมภะกรณะ" ([[:en:Kumbhakarna|Kumbhakarna]]) โดยเป็นบุตรของฤาษีวิศวรวะ ([[:en:Vishrava|Vishrava]]) หลานของฤาษีปุลัสตยะ ([[:en:Pulastya|Pulastya]]) กับนางไกกะษี (Kaikasi) เป็นหนึ่งใน 4 พี่น้องร่วมอุทรเดียวกันกับ ราวณะ (Ravana) วิภีษณะ (Vibhishana) และ ศูรปณขา(Surpanakha)<ref>{{Citation|title=Vishrava|date=2024-07-08|url=https://en.wikipedia.org/wiki/Vishrava|work=Wikipedia|language=en|access-date=2024-11-05}}</ref>


กุมภกรรณในรามายณะเป็นคนซื่อสัตย์เที่ยงธรรมคล้ายกุมภกรรณในรามเกียรติ์ แต่ในรามายณะกุมภกรรณได้เคยขอพรพระพรหมให้ตนเองมีสภาพคล้ายพระวิษณุ คือ นอนหลับอยู่เป็นเวลานานถึง 6 เดือน จึงตื่นขึ้นมา และหยั่งรู้ความเป็นไปของโลกในการนอนหลับนั้น ดังนั้น เมื่อทศกัณฐ์ปลุกกุมภกรรณให้ไปรบกับพระรามนั้น กุมภกรรณย่อมรู้ว่าพระรามนั้นที่แท้คือพระวิษณุและตนไม่มีทางรบชนะเด็ดขาด แต่ด้วยหน้าที่ของการเป็นทหาร กุมภกรรณยังคงตัดสินใจไปรบโดยทูลทศกัณฐ์ว่า ถ้าตนตายในการรบก็ขอให้ทศกัณฐ์ยอมแพ้เสีย เพราะถ้าตนรบชนะไม่ได้ก็ย่อมไม่มีใครในลงการบชนะพระรามได้
ชายทรชน คือพิเภกที่ไม่รู้จักบุญคุณพี่น้อง ไปบอกความลับของฝ่ายลงกาแก่ศัตรู เหมือนแกล้งฆ่าพี่น้องทุกคน


เมื่อกุมภกรรณอยู่ในสนามรบ ได้สู้รบกับทัพของพระรามอย่างกล้าหาญ โดยทำลายทหารวานรไปเกือบ 8,000 นาย ในท้ายที่สุด กุมภกรรณะก็ต้องศรอินทราสตระ และศรวายวาสตระ ตัดแขนทั้งสองข้างและร่างกายลงสู่ทะเล และศรพรหมาสตระตัดศีรษะของกุมภกรรณลอยไปตกยังตรงหน้าของราวณะ สิ้นชีวิตลงในที่สุด
คำบริภาษนี้เป็นของปราชญ์ไทยแต่งขึ้นโดยไม่มีในรามายณะต้นฉบับ ได้เป็นคำบริภาษทุกฝ่ายอย่างยุติธรรมตามมุมมองของกุมภกรรณ หรืออาจเรียกได้ว่าเป็นมุมมองของกวีที่สอดแทรกไว้ก็ได้

== ลัก ==
[[ไฟล์:OPR040115 Kumphakan-DL.jpg|250px|right]]
[[ไฟล์:MPRK K040115 Kumphakan-TDL.JPG|thumb|right|250px]]


== โคลงภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่องรามเกียรติ์ ที่พระระเบียงวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ==
{{โคลงสี่สุภาพ
{{โคลงสี่สุภาพ
| รูปราพตนนี้ชื่อ |ปรากฏ นามเฮย
| รูปราพตนนี้ชื่อ |ปรากฏ นามเอย
| กุมภกรรฐอนุชทศ|ภักตรท้าว
| กุมภกรรฐอนุชทศ|ภักตรท้าว
| เป็นอุปราชเรืองยศ|ผิวพิศ เขียวแฮ
| เป็นอุปราชเรืองยศ|ผิวพิศ เขียวแฮ
| ทรงหอกโมกขศักดิ์ห้าว|มหิศเหี้ยมหาญณรงค์
| ทรงหอกโมกขศักดิ์ห้าว|มหิศเหี้ยมหาญณรงค์
| source=ขุนพิสนทสังฆกิจ(ตัวสะกดตามต้นฉบับเดิม)}}
| source=ขุนพิสนทสังฆกิจ(ตัวสะกดตามต้นฉบับเดิม)}}{{clear}}

{{clear}}
== ลักษณะและสี ==
== ลักษณะและสี ==
กายสีเขียวสด 1 หน้า 2 มือ สวมกระบังหน้า
กายสีเขียวสด 1 หน้า 2 มือ สวมกระบังหน้า

== ในวัฒนธรรมสมัยนิยม ==
เรื่องราวการทำพิธีทดน้ำของกุมภกรรณถูกนำไปสร้างเป็นเพลง '''กุมภกรรณทดน้ำ''' ขับร้องโดย [[ไวพจน์ เพชรสุพรรณ]]


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
บรรทัด 90: บรรทัด 92:


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* รูปการแสดงโขนเฉลิมพระเกียรติเรื่องรามเกียรติ์ ตอน สุครีพถอนต้นพญารัง- กุมกรรณพุ่งหอกโมกขศักดิ์ งานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ณ อุทยานพระบรมราชานุสรณ์ ฯ ถ.อัมพวา-บางนกแขวก ต.อัมพวา อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม [http://thkhon.multiply.com/photos/album/67/2010-02-06-KhonAmpawa วันเสาร์ที่ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ ][http://thkhon.multiply.com/photos/album/68/2010-02-07-KhonAmpawa และ วันอาทิตย์ที่ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ ]
* รูปการแสดงโขนเฉลิมพระเกียรติเรื่องรามเกียรติ์ ตอน สุครีพถอนต้นพญารัง- กุมกรรณพุ่งหอกโมกขศักดิ์ งานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ณ อุทยานพระบรมราชานุสรณ์ ฯ ถ.อัมพวา-บางนกแขวก ต.อัมพวา อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม [http://thkhon.multiply.com/photos/album/67/2010-02-06-KhonAmpawa วันเสาร์ที่ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ ] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20160305120907/http://thkhon.multiply.com/photos/album/67/2010-02-06-KhonAmpawa |date=2016-03-05 }}[http://thkhon.multiply.com/photos/album/68/2010-02-07-KhonAmpawa และ วันอาทิตย์ที่ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ ] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20160305100138/http://thkhon.multiply.com/photos/album/68/2010-02-07-KhonAmpawa |date=2016-03-05 }}
* [http://thkhon.multiply.com/photos/album/71 สูจิบัตรการแสดงโขนเรื่องรามเกียรติ์ ชุด ศึกกุมภกรรณ ตอน กุมภกรรณทดน้ำของสำนักการสังคีต กรมศิลปากร จัดแสดงในเดือนมีนาคม-มิถุนายน ๒๕๕๓]
* [http://thkhon.multiply.com/photos/album/71 สูจิบัตรการแสดงโขนเรื่องรามเกียรติ์ ชุด ศึกกุมภกรรณ ตอน กุมภกรรณทดน้ำของสำนักการสังคีต กรมศิลปากร จัดแสดงในเดือนมีนาคม-มิถุนายน ๒๕๕๓] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20160305093118/http://thkhon.multiply.com/photos/album/71 |date=2016-03-05 }}
* [http://www.nairobroo.com/76/modules.php?name=News&file=article&sid=63 เยี่ยมยักษ์อยู่ยามกลางกรุงรัตนโกสินทร์]
* [http://www.nairobroo.com/76/modules.php?name=News&file=article&sid=63 เยี่ยมยักษ์อยู่ยามกลางกรุงรัตนโกสินทร์]{{ลิงก์เสีย|date=สิงหาคม 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}
* [http://www.culture.go.th/wwwtcc/music_10.htm หัวโขน-สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ www.culture.go.th]
* [http://www.culture.go.th/wwwtcc/music_10.htm หัวโขน-สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ www.culture.go.th] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20090802120039/http://www.culture.go.th/wwwtcc/music_10.htm |date=2009-08-02 }}
* [http://thkhon.multiply.com/photos/album/14/Khon_Mask สีที่ใช้กับหัวโขน ]
* [http://thkhon.multiply.com/photos/album/14/Khon_Mask สีที่ใช้กับหัวโขน ] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20160305161740/http://thkhon.multiply.com/photos/album/14/Khon_Mask |date=2016-03-05 }}
* [http://ancientism.multiply.com/photos/album/6/6 จารีตนาฏศิลป์ไทย โดย นาย ประเมษฐ์ บุณยะชัย นิตยสารศิลปากร ปีที่ ๕๐ ฉบับที่ ๑ มกราคม-กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ หน้า ๕ - ๑๙]
* [http://ancientism.multiply.com/photos/album/6/6 จารีตนาฏศิลป์ไทย โดย นาย ประเมษฐ์ บุณยะชัย นิตยสารศิลปากร ปีที่ ๕๐ ฉบับที่ ๑ มกราคม-กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ หน้า ๕ - ๑๙] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20160305124504/http://ancientism.multiply.com/photos/album/6/6 |date=2016-03-05 }}
* [http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=praingpayear&month=07-2008&date=05&group=13&gblog=2 โคลงรามเกียรติ์ รอบพระระเบียงวัดพระศรีรัตนศาสดาราม www.bloggang.com-praingpayear]
* [http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=praingpayear&month=07-2008&date=05&group=13&gblog=2 โคลงรามเกียรติ์ รอบพระระเบียงวัดพระศรีรัตนศาสดาราม www.bloggang.com-praingpayear]
* [http://www.reurnthai.com/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%9D%E0%B8%B2%E0%B8%9C%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B9%8C โคลงภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่องรามเกียรติ์ ตู้หนังสือ เรือนไทย]
* [http://www.reurnthai.com/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%9D%E0%B8%B2%E0%B8%9C%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B9%8C โคลงภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่องรามเกียรติ์ ตู้หนังสือ เรือนไทย] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20100111070344/http://www.reurnthai.com/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%9D%E0%B8%B2%E0%B8%9C%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B9%8C |date=2010-01-11 }}
{{commonscat|Kumbhakarna|กุมภกรรณ}}
{{commonscat|Kumbhakarna|กุมภกรรณ}}
{{รามเกียรติ์}}
{{รามเกียรติ์}}

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 12:08, 2 ธันวาคม 2567

กุมภกรรณ
ตัวละครใน รามเกียรติ์
ข้อมูลตัวละครในเรื่อง
เผ่าพันธุ์ยักษ์
เพศผู้
ตำแหน่งพระมหาอุปราชแห่งกรุงลงกา
คู่สมรสนางจันทวดี
ญาติท้าวลัสเตียน (บิดา)
นางรัชฎา (มารดา)
ทศกัณฐ์ (พี่ชาย)
พิเภก (น้องชาย)
ขร (น้องชาย)
ทูษณ์ (น้องชาย)
ตรีเศียร (น้องชาย)
นางสำมนักขา (น้องสาว)

กุมภกรรณ (สันสกฤต: कुम्भकर्ण, กุมฺภกรฺณ) มี 4 หน้า 2 มือ เป็นโอรสของท้าวลัสเตียนและนางรัชฎา มีศักดิ์เป็นน้องของทศกัณฐ์ มีกายสีเขียว มีอาวุธร้ายประจำกายคือหอกโมกขศักดิ์ที่ฝากไว้กับพระพรหม เหตุที่ชื่อกุมภกรรณ (หูหม้อ) นั้นเพราะมีร่างกายใหญ่โตมาก สามารถเอาหม้อใส่ใบหูได้

กุมภกรรณเป็นยักษ์ที่ตั้งมั่นในศีลธรรม เคยทัดทานทศกัณฐ์ให้นำนางสีดาคืนพระราม แต่ถูกทศกัณฐ์โกรธมากและเกือบถูกขับไล่ออกจากเมืองเช่นเดียวกับพิเภก จึงต้องจำใจออกรบช่วยทศกัณฐ์เพราะเห็นแก่ความเป็นพี่น้อง กุมภกรรณได้แสดงความสามารถในการรบจนทำให้ทัพพระรามเดือดร้อนอยู่หลายครั้ง ได้แก่ วางอุบายลวงสุครีพถอนต้นรัง ทำพิธีลับหอกโมกขศักดิ์ แต่ถูกหนุมานและองคตทำลายพิธี รบกับพระลักษมณ์และพุ่งหอกโมกขศักดิ์ถูกพระลักษมณ์จนเกือบสิ้นชีวิต ทำพิธีทดน้ำให้กองทัพพระรามอดน้ำตาย แต่ถูกหนุมานทำลายพิธี สุดท้ายกุมภกรรณสู้รบกับพระราม เพลี่ยงพล้ำถูกศรพระรามฆ่าตาย ก่อนตายได้เห็นพระรามปรากฏเป็นพระนารายณ์ จึงขอขมาให้พระรามอโหสิกรรมให้และสั่งเสียให้พิเภกจงรักภักดีต่อพระราม หลังจากกุมภกรรณสิ้นชีพแล้ว ได้ไปเกิดเป็นเทวดาบนสวรรค์

คำบริภาษของกุมภกรรณ

[แก้]

เมื่อกุมภกรรณออกรบกับพระรามนั้น ได้ตั้งปริศนาถามพระรามไว้บอกว่าถ้าพระรามตอบได้จะยอมเลิกทัพกลับ ปริศนาถามว่า ชีโฉด หญิงโหด ช้างงารี ชายทรชน สี่อย่างนี้คืออะไร พระรามตอบไม่ได้จึงใช้องคตมาถาม กุมภกรรณจึงเฉลยว่า

  • ชีโฉด คือ พระรามที่เพื่อแย่งชิงนางสีดากลับ ถึงกับยกทัพใหญ่มาทำการวุ่นวาย ทำให้คนบริสุทธิ์มากมายเดือดร้อน
  • หญิงโหด คือ นางสำมะนักขาที่คิดเอาพระรามเป็นสามี พอไม่ได้ก็และยุยงให้พี่น้องมารบกับพระรามจนเกิดเรื่อง
  • ช้างงารี คือ ทศกัณฐ์ที่เกะกะอันธพาล ไปแย่งเมียคนอื่น
  • ชายทรชน คือ พิเภกที่ไม่รู้จักบุญคุณพี่น้อง ไปบอกความลับของฝ่ายลงกาแก่ศัตรู เหมือนแกล้งฆ่าพี่น้องทุกคน

คำบริภาษนี้เป็นของปราชญ์ไทยแต่งขึ้นโดยไม่มีในรามายณะต้นฉบับ ได้เป็นคำบริภาษทุกฝ่ายอย่างยุติธรรมตามมุมมองของกุมภกรรณ หรืออาจเรียกได้ว่าเป็นมุมมองของกวีที่สอดแทรกไว้ก็ได้

บทบาทในรามายณะ

[แก้]

ในรามายณะ เรียกกุมภกรรณ ว่า "กุมภะกรณะ" (Kumbhakarna) โดยเป็นบุตรของฤาษีวิศวรวะ (Vishrava) หลานของฤาษีปุลัสตยะ (Pulastya) กับนางไกกะษี (Kaikasi) เป็นหนึ่งใน 4 พี่น้องร่วมอุทรเดียวกันกับ ราวณะ (Ravana) วิภีษณะ (Vibhishana) และ ศูรปณขา(Surpanakha)[1]

กุมภกรรณในรามายณะเป็นคนซื่อสัตย์เที่ยงธรรมคล้ายกุมภกรรณในรามเกียรติ์ แต่ในรามายณะกุมภกรรณได้เคยขอพรพระพรหมให้ตนเองมีสภาพคล้ายพระวิษณุ คือ นอนหลับอยู่เป็นเวลานานถึง 6 เดือน จึงตื่นขึ้นมา และหยั่งรู้ความเป็นไปของโลกในการนอนหลับนั้น ดังนั้น เมื่อทศกัณฐ์ปลุกกุมภกรรณให้ไปรบกับพระรามนั้น กุมภกรรณย่อมรู้ว่าพระรามนั้นที่แท้คือพระวิษณุและตนไม่มีทางรบชนะเด็ดขาด แต่ด้วยหน้าที่ของการเป็นทหาร กุมภกรรณยังคงตัดสินใจไปรบโดยทูลทศกัณฐ์ว่า ถ้าตนตายในการรบก็ขอให้ทศกัณฐ์ยอมแพ้เสีย เพราะถ้าตนรบชนะไม่ได้ก็ย่อมไม่มีใครในลงการบชนะพระรามได้

เมื่อกุมภกรรณอยู่ในสนามรบ ได้สู้รบกับทัพของพระรามอย่างกล้าหาญ โดยทำลายทหารวานรไปเกือบ 8,000 นาย ในท้ายที่สุด กุมภกรรณะก็ต้องศรอินทราสตระ และศรวายวาสตระ ตัดแขนทั้งสองข้างและร่างกายลงสู่ทะเล และศรพรหมาสตระตัดศีรษะของกุมภกรรณลอยไปตกยังตรงหน้าของราวณะ สิ้นชีวิตลงในที่สุด

โคลงภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่องรามเกียรติ์ ที่พระระเบียงวัดพระศรีรัตนศาสดาราม

[แก้]
รูปราพตนนี้ชื่อ ปรากฏ นามเอย
กุมภกรรฐอนุชทศ ภักตรท้าว
เป็นอุปราชเรืองยศ ผิวพิศ เขียวแฮ
ทรงหอกโมกขศักดิ์ห้าว มหิศเหี้ยมหาญณรงค์
ขุนพิสนทสังฆกิจ(ตัวสะกดตามต้นฉบับเดิม)

ลักษณะและสี

[แก้]

กายสีเขียวสด 1 หน้า 2 มือ สวมกระบังหน้า

ในวัฒนธรรมสมัยนิยม

[แก้]

เรื่องราวการทำพิธีทดน้ำของกุมภกรรณถูกนำไปสร้างเป็นเพลง กุมภกรรณทดน้ำ ขับร้องโดย ไวพจน์ เพชรสุพรรณ

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Vishrava", Wikipedia (ภาษาอังกฤษ), 2024-07-08, สืบค้นเมื่อ 2024-11-05
  • สี ลักษณะหัวโขน และประวัติสังเขปของตัวละครในเรื่องรามเกียรติ์ นาย ประพันธ์ สุคนธชาติ รวบรวม

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]