ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ริชาร์ด ไฟน์แมน"
Rescuing 2 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8 |
ZeroSixTwo (คุย | ส่วนร่วม) ล แทนที่ "สหรัฐอเมริกา" → "สหรัฐ" +แทนที่ "คอร์แนล" → "คอร์เนล" ด้วยสจห. |
||
บรรทัด 8: | บรรทัด 8: | ||
|caption = ริชาร์ด ฟิลิปป์ ไฟน์แมน (1918–1988) |
|caption = ริชาร์ด ฟิลิปป์ ไฟน์แมน (1918–1988) |
||
|birth_date = {{birth date|mf=yes|1918|5|11|mf=y}} |
|birth_date = {{birth date|mf=yes|1918|5|11|mf=y}} |
||
|birth_place = {{nowrap|ควีนส์ |
|birth_place = {{nowrap|ควีนส์ [[นครนิวยอร์ก]] [[สหรัฐ]]}} |
||
|death_date = {{death date and age|mf=yes|1988|2|15|1918|5|11}} |
|death_date = {{death date and age|mf=yes|1988|2|15|1918|5|11}} |
||
|death_place = [[ลอสแอนเจลิส]] {{flag|รัฐแคลิฟอร์เนีย}} {{flag|สหรัฐ |
|death_place = [[ลอสแอนเจลิส]] {{flag|รัฐแคลิฟอร์เนีย}} {{flag|สหรัฐ}} |
||
|residence = {{flag|สหรัฐ |
|residence = {{flag|สหรัฐ}} |
||
|citizenship = |
|citizenship = |
||
|nationality = {{flag|สหรัฐ |
|nationality = {{flag|สหรัฐ|name=ชาวอเมริกัน}} |
||
|ethnicity = [[Russians|Russian]]-[[Poles|Polish]]-[[Jew]]ish<ref>[http://www.nndb.com/people/584/000026506/ NNDB profile of Richard Feynman]</ref> |
|ethnicity = [[Russians|Russian]]-[[Poles|Polish]]-[[Jew]]ish<ref>[http://www.nndb.com/people/584/000026506/ NNDB profile of Richard Feynman]</ref> |
||
|fields = [[ฟิสิกส์]] |
|fields = [[ฟิสิกส์]] |
||
|workplaces = [[โครงการแมนฮัตตัน]]<br />[[มหาวิทยาลัยคอร์ |
|workplaces = [[โครงการแมนฮัตตัน]]<br />[[มหาวิทยาลัยคอร์เนล]]<br />[[สถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนีย]] |
||
|alma_mater = [[สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์]]<br />[[มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน]] |
|alma_mater = [[สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์]]<br />[[มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน]] |
||
|doctoral_advisor = [[John Archibald Wheeler]] |
|doctoral_advisor = [[John Archibald Wheeler]] |
||
บรรทัด 34: | บรรทัด 34: | ||
}} |
}} |
||
'''ริชาร์ด ฟิลลิปส์ ไฟน์แมน''' ({{lang-en|Richard Phillips Feynman}}) [[นักฟิสิกส์]]ชาว[[สหรัฐ |
'''ริชาร์ด ฟิลลิปส์ ไฟน์แมน''' ({{lang-en|Richard Phillips Feynman}}) [[นักฟิสิกส์]]ชาว[[สหรัฐ|อเมริกัน]] เกิดเมื่อวันที่ [[11 พฤษภาคม]] [[ค.ศ. 1918]] เสียชีวิต [[15 กุมภาพันธ์]] [[ค.ศ. 1988]] เป็นหนึ่งในนักฟิสิกส์ ที่ทรงคุณค่าและมีอิทธิพลมากที่สุดของ[[คริสต์ศตวรรษที่ 20]] |
||
ในการจัดอันดับนักฟิสิกส์ยอดเยี่ยมตลอดกาลของโลก โดยสำนักข่าว[[บีบีซี]] ที่ให้นักฟิสิกส์ชั้นนำของโลกร่วม 100 คนช่วยกันตัดสิน ไฟน์แมน เป็นนักฟิสิกส์สมัยใหม่เพียงคนเดียว ที่ชนะใจเหล่านักฟิสิกส์ชั้นนำทั่วโลก โดยติดอันดับ 10 คนแรกของโลก (สมัยใหม่ในที่นี้ คือนับหลังจากยุคทองของ[[ทฤษฎีควอนตัม]] คือในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ถึงปัจจุบัน [[ค.ศ. 2005]]) แม้แต่นักฟิสิกส์ผู้โด่งดังอย่าง[[ |
ในการจัดอันดับนักฟิสิกส์ยอดเยี่ยมตลอดกาลของโลก โดยสำนักข่าว[[บีบีซี]] ที่ให้นักฟิสิกส์ชั้นนำของโลกร่วม 100 คนช่วยกันตัดสิน ไฟน์แมน เป็นนักฟิสิกส์สมัยใหม่เพียงคนเดียว ที่ชนะใจเหล่านักฟิสิกส์ชั้นนำทั่วโลก โดยติดอันดับ 10 คนแรกของโลก (สมัยใหม่ในที่นี้ คือนับหลังจากยุคทองของ[[ทฤษฎีควอนตัม]] คือในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ถึงปัจจุบัน [[ค.ศ. 2005]]) แม้แต่นักฟิสิกส์ผู้โด่งดังอย่าง[[สตีเฟน ฮอว์คิง]] ก็ยังได้เพียงอันดับ 16 ในผลโหวต แน่นอนผลโหวตนี้ไม่สามารถตัดสินอะไรได้ แต่ก็เป็นเครื่องบ่งชี้อย่างดีว่า ไฟน์แมนมีอิทธิพลต่อวงการฟิสิกส์ยุคปัจจุบันแค่ไหน ทั้งในแง่ผลงานทางวิชาการ การสอนหนังสือ และการใช้ชีวิต |
||
ผลงานของไฟน์แมนมีมากมาย เช่น การขยาย[[ทฤษฎีพลศาสตร์ไฟฟ้าควอนตัม]]ให้กว้างใหญ่ขึ้นมาก ซึ่งนำไปสู่[[รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์]] เมื่อปี [[ค.ศ. 1965]] ซึ่งเขาได้ร่วมกับ[[จูเลียน ชวิงเกอร์]] และ[[ |
ผลงานของไฟน์แมนมีมากมาย เช่น การขยาย[[ทฤษฎีพลศาสตร์ไฟฟ้าควอนตัม]]ให้กว้างใหญ่ขึ้นมาก ซึ่งนำไปสู่[[รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์]] เมื่อปี [[ค.ศ. 1965]] ซึ่งเขาได้ร่วมกับ[[จูเลียน ชวิงเกอร์]] และ[[ชินอิจิโร โทโมนางะ]] ไฟน์แมนปฏิเสธตำแหน่งนักวิจัยที่[[มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน]] ที่ที่[[ไอน์สไตน์]]อยู่ เพียงเพราะเขาต้องการสอนหนังสือให้กับเด็ก ครั้งหนึ่งเขาเคยพูดว่า "ผมอยากสอน เพราะในตอนที่ผมไม่มีไอเดียอะไรใหม่ ๆ ในงานวิจัย ผมก็ยังสามารถให้อะไรกับสังคมได้" |
||
ไฟน์แมนตัดสินใจรับตำแหน่งที่[[สถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนีย]] (แคลเทค) สร้างยุคทองของมหาวิทยาลัย ร่วมกับ[[เมอเรย์ เกลมานน์]] ผู้คิดค้นทฤษฎี[[ควาร์ก]], [[ไลนัส พอลิง]] หนึ่งใน[[นักเคมี]]ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในศตวรรษที่ 20 หนึ่งในผู้คิดค้น[[ทฤษฎีควอนตัมเคมี]] และนักวิทยาศาสตร์ชั้นนำท่านอื่น ๆ ในแง่ของการเป็นอาจารย์ เขาได้เขียน[[คำบรรยายฟิสิกส์ของไฟน์แมน]] (Feynman Lectures on Physics) อันโด่งดัง ซึ่งเป็นแรงบันดาลใจให้กับผู้สอนวิชาฟิสิกส์เป็นจำนวนมาก ทั้งในแง่เนื้อหาและการนำเสนอ เป็นการพลิกการเรียนการสอนฟิสิกส์แบบเก่า ๆ ให้เข้าใจง่าย |
ไฟน์แมนตัดสินใจรับตำแหน่งที่[[สถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนีย]] (แคลเทค) สร้างยุคทองของมหาวิทยาลัย ร่วมกับ[[เมอเรย์ เกลมานน์]] ผู้คิดค้นทฤษฎี[[ควาร์ก]], [[ไลนัส พอลิง]] หนึ่งใน[[นักเคมี]]ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในศตวรรษที่ 20 หนึ่งในผู้คิดค้น[[ทฤษฎีควอนตัมเคมี]] และนักวิทยาศาสตร์ชั้นนำท่านอื่น ๆ ในแง่ของการเป็นอาจารย์ เขาได้เขียน[[คำบรรยายฟิสิกส์ของไฟน์แมน]] (Feynman Lectures on Physics) อันโด่งดัง ซึ่งเป็นแรงบันดาลใจให้กับผู้สอนวิชาฟิสิกส์เป็นจำนวนมาก ทั้งในแง่เนื้อหาและการนำเสนอ เป็นการพลิกการเรียนการสอนฟิสิกส์แบบเก่า ๆ ให้เข้าใจง่าย |
||
บรรทัด 76: | บรรทัด 76: | ||
[[หมวดหมู่:บุคคลจากควีนส์]] |
[[หมวดหมู่:บุคคลจากควีนส์]] |
||
[[หมวดหมู่:ศิษย์เก่าจากสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์]] |
[[หมวดหมู่:ศิษย์เก่าจากสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์]] |
||
[[หมวดหมู่:ศิษย์เก่าจากมหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน]] |
|||
[[หมวดหมู่:โครงการแมนแฮตตัน]] |
|||
[[หมวดหมู่:บุคคลจากมหาวิทยาลัยคอร์เนล]] |
|||
[[หมวดหมู่:บุคคลจากสถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนีย]] |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:46, 30 กันยายน 2565
ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
ริชาร์ด ฟิลลิปส์ ไฟน์แมน (อังกฤษ: Richard Phillips Feynman) นักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน เกิดเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1918 เสียชีวิต 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1988 เป็นหนึ่งในนักฟิสิกส์ ที่ทรงคุณค่าและมีอิทธิพลมากที่สุดของคริสต์ศตวรรษที่ 20
ในการจัดอันดับนักฟิสิกส์ยอดเยี่ยมตลอดกาลของโลก โดยสำนักข่าวบีบีซี ที่ให้นักฟิสิกส์ชั้นนำของโลกร่วม 100 คนช่วยกันตัดสิน ไฟน์แมน เป็นนักฟิสิกส์สมัยใหม่เพียงคนเดียว ที่ชนะใจเหล่านักฟิสิกส์ชั้นนำทั่วโลก โดยติดอันดับ 10 คนแรกของโลก (สมัยใหม่ในที่นี้ คือนับหลังจากยุคทองของทฤษฎีควอนตัม คือในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ถึงปัจจุบัน ค.ศ. 2005) แม้แต่นักฟิสิกส์ผู้โด่งดังอย่างสตีเฟน ฮอว์คิง ก็ยังได้เพียงอันดับ 16 ในผลโหวต แน่นอนผลโหวตนี้ไม่สามารถตัดสินอะไรได้ แต่ก็เป็นเครื่องบ่งชี้อย่างดีว่า ไฟน์แมนมีอิทธิพลต่อวงการฟิสิกส์ยุคปัจจุบันแค่ไหน ทั้งในแง่ผลงานทางวิชาการ การสอนหนังสือ และการใช้ชีวิต
ผลงานของไฟน์แมนมีมากมาย เช่น การขยายทฤษฎีพลศาสตร์ไฟฟ้าควอนตัมให้กว้างใหญ่ขึ้นมาก ซึ่งนำไปสู่รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ เมื่อปี ค.ศ. 1965 ซึ่งเขาได้ร่วมกับจูเลียน ชวิงเกอร์ และชินอิจิโร โทโมนางะ ไฟน์แมนปฏิเสธตำแหน่งนักวิจัยที่มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน ที่ที่ไอน์สไตน์อยู่ เพียงเพราะเขาต้องการสอนหนังสือให้กับเด็ก ครั้งหนึ่งเขาเคยพูดว่า "ผมอยากสอน เพราะในตอนที่ผมไม่มีไอเดียอะไรใหม่ ๆ ในงานวิจัย ผมก็ยังสามารถให้อะไรกับสังคมได้"
ไฟน์แมนตัดสินใจรับตำแหน่งที่สถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนีย (แคลเทค) สร้างยุคทองของมหาวิทยาลัย ร่วมกับเมอเรย์ เกลมานน์ ผู้คิดค้นทฤษฎีควาร์ก, ไลนัส พอลิง หนึ่งในนักเคมีที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในศตวรรษที่ 20 หนึ่งในผู้คิดค้นทฤษฎีควอนตัมเคมี และนักวิทยาศาสตร์ชั้นนำท่านอื่น ๆ ในแง่ของการเป็นอาจารย์ เขาได้เขียนคำบรรยายฟิสิกส์ของไฟน์แมน (Feynman Lectures on Physics) อันโด่งดัง ซึ่งเป็นแรงบันดาลใจให้กับผู้สอนวิชาฟิสิกส์เป็นจำนวนมาก ทั้งในแง่เนื้อหาและการนำเสนอ เป็นการพลิกการเรียนการสอนฟิสิกส์แบบเก่า ๆ ให้เข้าใจง่าย
นอกจากนั้นเขายังเป็นหนึ่งในผู้พัฒนาระเบิดนิวเคลียร์ลูกแรกของโลก ในโครงการแมนฮัตตัน เป็นหนึ่งในผู้ตรวจสอบการระเบิดของกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์ และเป็นผู้ริเริ่มเสนอแนวคิดของนาโนเทคโนโลยี
ผลงานเกี่ยวกับไฟน์แมน
- ผลงานของ ริชาร์ด ไฟน์แมน ที่ทำให้เขาได้รับรางวัลโนเบล คือ "The Development of the Space-Time View of Quantum Electrodynamics"
- The Feynman Lectures on Physics
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
- การจัดอันดับนักฟิสิกส์ยอดเยี่ยมตลอดกาลของโลก โดยสำนักข่าวบีบีซีของอังกฤษ
- Richard P. Feynman - Nobel Lecture
- Feynman Online!
- Unique freeview videos of Feynman's lectures on QED courtesy of The Vega Science Trust and The University of Auckland เก็บถาวร 2005-03-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Los Alamos National Laboratory Richard Feynman page
- The Nobel Prize Winners in Physics 1965
- About Richard Feynman
- Feynman's classic 1959 talk:There's Plenty of Room at the Bottom
- Richard Feynman and The Connection Machine
- Infinity ที่อินเทอร์เน็ตมูวีเดตาเบส
- PhysicsWeb review of the play QED
- BBC Horizon: The Pleasure of Finding Things Out — with Richard Feynman. A 50-minute documentary interview with Feynman recorded in 1981 เก็บถาวร 2005-08-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Richard Feynman, Winner of the 1965 Nobel Prize in Physics
อ้างอิง
- ↑ NNDB profile of Richard Feynman
- ↑ "I told him I was as strong an atheist as he was likely to find" (Feynman 2005)