ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระราชาคณะ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Caramel latte 56 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
Caramel latte 56 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 21: บรรทัด 21:
[[ไฟล์:สมเด็จพระญาณวโรดม ประยูร001.jpg|thumb|left|180px|ภาพพัดยศสมณศักดิ์สมเด็จพระราชาคณะ สมเด็จพระญาณวโรดม]]
[[ไฟล์:สมเด็จพระญาณวโรดม ประยูร001.jpg|thumb|left|180px|ภาพพัดยศสมณศักดิ์สมเด็จพระราชาคณะ สมเด็จพระญาณวโรดม]]
'''สมเด็จพระราชาคณะ''' เป็น[[สมณศักดิ์]]รองจาก[[สมเด็จพระสังฆราชไทย|สมเด็จพระสังฆราช]] สูงกว่า[[พระราชาคณะเจ้าคณะรอง]] มีคำนำหน้าราชทินนามว่า "สมเด็จ"
'''สมเด็จพระราชาคณะ''' เป็น[[สมณศักดิ์]]รองจาก[[สมเด็จพระสังฆราชไทย|สมเด็จพระสังฆราช]] สูงกว่า[[พระราชาคณะเจ้าคณะรอง]] มีคำนำหน้าราชทินนามว่า "สมเด็จ"
เดิมทีสมเด็จพระราชาคณะเป็นตำแหน่ง[[พระสังฆาธิการ]]ชั้น[[เจ้าคณะใหญ่]]มาตลอด จนกระทั่งมีการแยกออกมาเมื่อมีพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2484 ปัจจุบัน สมเด็จพระราชาคณะดำรงตำแหน่งเจ้าคณะใหญ่เพียง 5 รูป
เดิมทีสมเด็จพระราชาคณะเป็นตำแหน่ง[[พระสังฆาธิการ]]ชั้น[[เจ้าคณะใหญ่]]มาตลอด จนกระทั่งมีการแยกออกมาเมื่อมีพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2484 ปัจจุบัน สมเด็จพระราชาคณะดำรงตำแหน่งเจ้าคณะใหญ่เพียง 6 รูป


สมเด็จพระราชาคณะ ณ ปัจจุบัน มีทั้งหมด 7 รูป (ไม่รวมสมเด็จพระสังฆราช) แบ่งเป็น[[มหานิกาย]] 4 รูป และ[[ธรรมยุติกนิกาย]] 3 รูป ดังนี้
สมเด็จพระราชาคณะ ณ ปัจจุบัน มีทั้งหมด 9 รูป (ไม่รวมสมเด็จพระสังฆราช) แบ่งเป็น[[มหานิกาย]] 5 รูป และ[[ธรรมยุติกนิกาย]] 4 รูป ดังนี้


== สมเด็จพระราชาคณะในปัจจุบัน ==
== สมเด็จพระราชาคณะในปัจจุบัน ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:12, 15 พฤศจิกายน 2565

สมเด็จพระราชาคณะ
การเรียกขานเจ้าประคุณสมเด็จ
จวนวัด
ผู้แต่งตั้งพระมหากษัตริย์ไทย
เงินตอบแทน27,400 บาท[1]
ไฟล์:สมเด็จพระญาณวโรดม ประยูร001.jpg
ภาพพัดยศสมณศักดิ์สมเด็จพระราชาคณะ สมเด็จพระญาณวโรดม

สมเด็จพระราชาคณะ เป็นสมณศักดิ์รองจากสมเด็จพระสังฆราช สูงกว่าพระราชาคณะเจ้าคณะรอง มีคำนำหน้าราชทินนามว่า "สมเด็จ" เดิมทีสมเด็จพระราชาคณะเป็นตำแหน่งพระสังฆาธิการชั้นเจ้าคณะใหญ่มาตลอด จนกระทั่งมีการแยกออกมาเมื่อมีพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2484 ปัจจุบัน สมเด็จพระราชาคณะดำรงตำแหน่งเจ้าคณะใหญ่เพียง 6 รูป

สมเด็จพระราชาคณะ ณ ปัจจุบัน มีทั้งหมด 9 รูป (ไม่รวมสมเด็จพระสังฆราช) แบ่งเป็นมหานิกาย 5 รูป และธรรมยุติกนิกาย 4 รูป ดังนี้

สมเด็จพระราชาคณะในปัจจุบัน

มหานิกาย

ราชทินนาม รายนาม วัด สถาปนา วันเกิดและอายุ
สมเด็จพระพุฒาจารย์ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (สนิท ชวนปญฺโญ) วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร พ.ศ. 2557 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2485 (82 ปี)
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) วัดญาณเวศกวัน พ.ศ. 2559 12 มกราคม พ.ศ. 2481 (86 ปี)
สมเด็จพระมหาธีราจารย์ สมเด็จพระมหาธีราจารย์ (ประสิทธิ์ เขมงฺกโร) วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ พ.ศ. 2562[2] 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2480 (87 ปี)
สมเด็จพระมหารัชมงคลมุนี สมเด็จพระมหารัชมงคลมุนี (ธงชัย ธมฺมธโช) วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร พ.ศ. 2562[2] 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2496 (71 ปี)
สมเด็จพระมหาวชิรมังคลาจารย์ สมเด็จพระมหาวชิรมังคลาจารย์ (สงัด ปญฺญาวุโธ) วัดกะพังสุรินทร์ พ.ศ. 2565[3] 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2471 (96 ปี)

ธรรมยุติกนิกาย

ราชทินนาม รายนาม วัด สถาปนา วันเกิดและอายุ
สมเด็จพระธีรญาณมุนี สมเด็จพระธีรญาณมุนี (สมชาย วรชาโย) วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร พ.ศ. 2553 22 ตุลาคม พ.ศ. 2490 (77 ปี)
สมเด็จพระมหามุนีวงศ์ สมเด็จพระมหามุนีวงศ์ (พิจิตร ฐิตวณฺโณ) วัดโสมนัสราชวรวิหาร พ.ศ. 2562[2] 24 มิถุนายน พ.ศ. 2479 (88 ปี)
สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (สุชิน อคฺคชิโน) วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร พ.ศ. 2562[2] 22 มกราคม พ.ศ. 2493 (74 ปี)
สมเด็จพระพุทธพจนวชิรมุนี สมเด็จพระพุทธพจนวชิรมุนี (มนตรี คณิสฺสโร) วัดเครือวัลย์วรวิหาร พ.ศ. 2565[3] 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2484 (83 ปี)

สมเด็จพระราชาคณะที่ราชทินนามอื่น

ราชทินนาม รายนาม
(พระองค์/รูป ล่าสุด)
วัด เริ่มวาระ สิ้นวาระ หมายเหตุ
สมเด็จพระวชิรญาณวงศ์ สมเด็จพระวชิรญาณวงศ์ (ม.ร.ว. ชื่น สุจิตฺโต) วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร 2471 2499 โปรดให้สถาปนาเป็นสมเด็จพระสังฆราชเจ้า
สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อู่) วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร 2393 2401 สถาปนาครั้งแรก
มรณภาพ เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2401
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวฑฺฒโน)[4] วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร 2515 2556 สิ้นพระชนม์ เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2556
ต่อมาจึงโปรดสถาปนาพระอัฐิเป็นสมเด็จพระสังฆราชเจ้า
สมเด็จพระพุทธปาพจนบดี สมเด็จพระพุทธปาพจนบดี (ทองเจือ จินฺตากโร) [5] วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร 2532 2551 สถาปนาครั้งแรก
มรณภาพ เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม 2551
สมเด็จพระญาณวโรดม สมเด็จพระญาณวโรดม (ประยูร สนฺตงฺกุโร) [6] วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร 2546 2552 สถาปนาครั้งแรก
มรณภาพ เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2552
สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สมศักดิ์ อุปสโม) วัดพิชยญาติการามวรวิหาร 2554 2562 มรณภาพ เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2562
สมเด็จพระญาณวชิโรดม สมเด็จพระญาณวชิโรดม (วิริยังค์ สิรินฺธโร) วัดธรรมมงคล 2563 2563 สถาปนาครั้งแรก
มรณภาพ เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2563
สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญฺโญ) วัดปากน้ำ 2538 2564 สถาปนาครั้งแรก
มรณภาพ เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2564
สมเด็จพระวันรัต สมเด็จพระวันรัต (จุนท์ พฺรหฺมคุตฺโต) วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร 2552 2565 มรณภาพ เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2565

คำศัพท์ที่ใช้กับสมเด็จพระราชาคณะ

คำสรรพนามที่บุคคลทั่วไปใช้แก่สมเด็จพระราชาคณะ เป็นแบบแผนแต่ก่อนมีดังนี้[7]

  • คำสรรพนามบุรุษที่ 1 เกล้ากระผม (ชาย) ดิฉัน (หญิง)
  • คำสรรพนามบุรุษที่ 2 พระเดชพระคุณท่านเจ้าประคุณ/พระเดชพระคุณท่านเจ้าพระคุณ
  • คำสรรพนามบุรุษที่ 3 ท่าน

อ้างอิง

  1. "บัญชีนิตยภัต ฉบับปรับปรุงใหม่ เริ่มใช้ตั้งแต่ 1 เมษายน 2554 เป็นต้นไป". สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดภูเก็ต. 27 เมษายน 2555. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-06-18. สืบค้นเมื่อ 21 มีนาคม 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 ราชกิจจานุเบกษา,พระบรมราชโองการ ประกาศสถาปนาสมณศักดิ์, เล่ม 136, ตอนที่ 40 ข, 28 กรกฎาคม 2562, หน้า 1
  3. 3.0 3.1 ราชกิจจานุเบกษา,พระบรมราชโองการ ประกาศสถาปนาสมณศักดิ์, เล่ม 139, ตอนที่ 48 ข, 15 พฤศจิกายน 2565, หน้า 1
  4. ประกาศสถาปนาสมณศักดิ์ (พระสาสนโสภณ เป็นสมเด็จพระราชาคณะ) ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ 102, เล่ม 89, วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2515, หน้า 1-5
  5. ประกาศสถาปนาสมณศักดิ์ ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ 138, เล่ม 107, วันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2532, ฉบับพิเศษ หน้า 1
  6. ประกาศสถาปนาสมณศักดิ์ ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 121, ตอนที่ 3ข, วันที่ 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547, หน้า 1
  7. สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติราชาศัพท์. , พิมพ์ครั้งที่ 4ม กรุงเทพฯ : สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ, 2555. 416 หน้า. หน้า 336-339. ISBN 978-616-235-142-6