ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การอลุส-ดูว์ร็อง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: เปลี่ยนจาก หมวดหมู่:ผู้ได้รับเครื่องรัฐอิสริยาภรณ์เลฌียงโดเนอร์ ไปยัง หมวดหมู่:ผู...
บรรทัด 59: บรรทัด 59:
{{จิตรกรตะวันตก}}
{{จิตรกรตะวันตก}}
{{เรียงลำดับ|การอลุส-ดูว์ร็อง}}
{{เรียงลำดับ|การอลุส-ดูว์ร็อง}}
{{birth|1837}}
{{death|1917}}

[[หมวดหมู่:จิตรกรชาวฝรั่งเศส]]
[[หมวดหมู่:จิตรกรชาวฝรั่งเศส]]
[[หมวดหมู่:จิตรกรในคริสต์ศตวรรษที่ 19]]
[[หมวดหมู่:จิตรกรในคริสต์ศตวรรษที่ 19]]
[[หมวดหมู่:จิตรกรในคริสต์ศตวรรษที่ 20]]
[[หมวดหมู่:จิตรกรในคริสต์ศตวรรษที่ 20]]
[[หมวดหมู่:จิตรกรภาพเหมือน]]
[[หมวดหมู่:จิตรกรภาพเหมือน]]
[[หมวดหมู่:ผู้ได้รับเครื่องรัฐอิสริยาภรณ์เลฌียงโดเนอร์]]
[[หมวดหมู่:ผู้ได้รับเครื่องรัฐอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์]]

{{birth|1837}}
{{death|1917}}


[[de:Émile Auguste Carolus-Duran]]
[[de:Émile Auguste Carolus-Duran]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:03, 4 กุมภาพันธ์ 2556

การอลุส-ดูว์ร็อง

ชาร์ล โอกุสต์ เอมีล ดูว์ร็อง (ฝรั่งเศส: Charles Auguste Émile Durand) หรือ การอลุส-ดูว์ร็อง (Carolus-Duran, /kaʁɔlys dyʁɑ̃/; 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1837 - 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1917) หรือที่เป็นที่รู้จักกันในชื่อ การอลุส-ดูว์ร็อง เป็นจิตรกรและอาจารย์สอนจิตรกรรมชาวฝรั่งเศสของคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพเหมือน การอลุส-ดูว์ร็องมีชื่อเสียงจากการเขียนภาพชนชั้นสูงของสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่สาม

ประวัติ

การอลุส-ดูว์ร็องเกิดที่เมืองลีลและศึกษาศิลปะที่สถาบันลีลล์และต่อมาที่สถาบันวิจิตรศิลป์ในปารีส ในปี ค.ศ. 1861 การอลุส-ดูว์ร็องเดินทางไปยังอิตาลีและสเปนเพื่อศึกษาต่อโดยเฉพาะการศึกษาภาพเขียนโดยเดียโก เบลัซเกซ ภาพเขียนอันเป็นนาฏกรรมชื่อ “ฆาตกรรม” และ “การลอบสังหาร” ที่เขียนในปี ค.ศ. 1866 เป็นงานเขียนชิ้นแรกที่ประสบความสำเร็จที่ปัจจุบันเป็นของพิพิธภัณฑ์ลิลล์

การอลุส-ดูว์ร็องเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดจากการเขียนภาพเหมือน และเป็นจิตรกรที่เป็นเจ้าของห้องภาพที่สำคัญแห่งหนึ่งของปารีส เป็นอาจารย์ของศิลปินหลายคนผู้มามีชื่อเสียงในรุ่นต่อมารวมทั้งจอห์น ซิงเกอร์ ซาร์เจนท์ ภาพเขียน “สตรีกับถุงมือ” (ค.ศ. 1869) เป็นภาพเขียนของภรรยา

ในปี ค.ศ. 1889 การอลุส-ดูว์ร็องก็ได้รับเครื่องรัฐอิสริยาภรณ์เลชียงดอนเนอร์. ในปี ค.ศ. 1890 การอลุส-ดูว์ร็องก็ร่วมในการก่อตั้งสมาคมวิจิตรศิลป์แห่งชาติแห่งฝรั่งเศส (Société Nationale des Beaux Arts) และในปี ค.ศ. 1904 การอลุส-ดูว์ร็องก็ได้เป็นสมาชิกของสถาบันวิจิตรศิลป์ ในปีต่อมาก็ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้อำนวยการของสถาบันฝรั่งเศสแห่งโรม

ระเบียงภาพ

อ้างอิง

  • Public Domain บทความนี้ ประกอบด้วยข้อความจากสิ่งพิมพ์ซึ่งปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติChisholm, Hugh, บ.ก. (1911). สารานุกรมบริตานิกา ค.ศ. 1911 (11 ed.). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์. {{cite encyclopedia}}: |title= ไม่มีหรือว่างเปล่า (help)

แหล่งข้อมูลอื่น

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ การอลุส-ดูว์ร็อง