ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปราสาทบ้านไพล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘เป้น’ ด้วย ‘เป็น’
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Banplai.JPG|thumb|300px|ปราสาทบ้านไพล ตำบลเชื้อเพลิง อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์]]
[[ไฟล์:Banplai.JPG|thumb|300px|ปราสาทบ้านไพล ตำบลเชื้อเพลิง อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์]]


'''ปราสาทบ้านไพล''' ตั้งอยู่ที่บ้านปราสาท หมู่ที่ 6 ตำบลเชื้อเพลิง [[อำเภอปราสาท]] [[จังหวัดสุรินทร์]] เป็นศาสนาสถานในชุมชน หรือสรุก เป็นปราสาทอิฐ 3 หลัง ตั้งอยู่บนฐานศิลาแลงหันหน้าไปทางทิศตะวันออก มีคูน้ำรูปตัวยูล้อมรอบ องค์ปราสาทมีแผนผังและขนาดเท่ากันทั้งสามองค์ คือ มีแผนผัง[[รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส]]ขนาดประมาณ 4×4 เมตร มีประตูทางเข้าออกด้านหน้าเพียงด้านเดียว ทับหลังของปราสาทองค์กลางและองค์ด้านทิศเหนือสลักเป็นรูปบุคคลนั่งชันเข่าหนือหน้ากาล ส่วนทับหลังปราสาทองค์ด้านทิศใต้สลักเป้นรูปพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ ซึ่งปราสาทองค์ด้านทิศใต้พังทลายไปหมดสิ้นแล้ว
'''ปราสาทบ้านไพล''' ตั้งอยู่ที่บ้านปราสาท หมู่ที่ 6 ตำบลเชื้อเพลิง [[อำเภอปราสาท]] [[จังหวัดสุรินทร์]] เป็นศาสนาสถานในชุมชน หรือสรุก เป็นปราสาทอิฐ 3 หลัง ตั้งอยู่บนฐานศิลาแลงหันหน้าไปทางทิศตะวันออก มีคูน้ำรูปตัวยูล้อมรอบ องค์ปราสาทมีแผนผังและขนาดเท่ากันทั้งสามองค์ คือ มีแผนผัง[[รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส]]ขนาดประมาณ 4×4 เมตร มีประตูทางเข้าออกด้านหน้าเพียงด้านเดียว ทับหลังของปราสาทองค์กลางและองค์ด้านทิศเหนือสลักเป็นรูปบุคคลนั่งชันเข่าหนือหน้ากาล ส่วนทับหลังปราสาทองค์ด้านทิศใต้สลักเป็นรูปพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ ซึ่งปราสาทองค์ด้านทิศใต้พังทลายไปหมดสิ้นแล้ว


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:54, 29 มีนาคม 2558

ปราสาทบ้านไพล ตำบลเชื้อเพลิง อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์

ปราสาทบ้านไพล ตั้งอยู่ที่บ้านปราสาท หมู่ที่ 6 ตำบลเชื้อเพลิง อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ เป็นศาสนาสถานในชุมชน หรือสรุก เป็นปราสาทอิฐ 3 หลัง ตั้งอยู่บนฐานศิลาแลงหันหน้าไปทางทิศตะวันออก มีคูน้ำรูปตัวยูล้อมรอบ องค์ปราสาทมีแผนผังและขนาดเท่ากันทั้งสามองค์ คือ มีแผนผังรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาดประมาณ 4×4 เมตร มีประตูทางเข้าออกด้านหน้าเพียงด้านเดียว ทับหลังของปราสาทองค์กลางและองค์ด้านทิศเหนือสลักเป็นรูปบุคคลนั่งชันเข่าหนือหน้ากาล ส่วนทับหลังปราสาทองค์ด้านทิศใต้สลักเป็นรูปพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ ซึ่งปราสาทองค์ด้านทิศใต้พังทลายไปหมดสิ้นแล้ว

อ้างอิง

  • กรมศิลปากร. (2550). ประวัติศาสตร์เมืองสุรินทร์. กรุงเทพฯ: อัมรินทร์พริ้นติ้งและพับลิชชิ่ง. ISBN 978-974-425-057-5