ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สิ่งประดิษฐ์"
NP-chaonay (คุย | ส่วนร่วม) ล เก็บกวาดเว้นวรรค+แก้ภาษา+ลบคำอังกฤษที่ไม่จำเป็น+แก้สะกด |
ไม่มีความย่อการแก้ไข ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่ |
||
บรรทัด 4: | บรรทัด 4: | ||
อีกความหมายหนึ่งของสิ่งประดิษฐ์ คือ สิ่งประดิษฐ์ทางวัฒนธรรม ซึ่งเป็นชุดพฤติกรรมทางสังคมที่เป็นประโยชน์อย่างนวัตกรรมที่บุคคลรับมาและส่งต่อให้ผู้อื่น<ref>Artificial Mythologies: A Guide to Cultural Invention by Craig J. Saper (1997); Review of Artificial Mythologies. A Guide to cultural Invention, Kirsten Ostherr (1998)</ref> สิ่งประดิษฐ์มักเป็นองค์ประกอบสำคัญของความคิดสร้างสรรค์ทางศิลปะและการออกแบบ |
อีกความหมายหนึ่งของสิ่งประดิษฐ์ คือ สิ่งประดิษฐ์ทางวัฒนธรรม ซึ่งเป็นชุดพฤติกรรมทางสังคมที่เป็นประโยชน์อย่างนวัตกรรมที่บุคคลรับมาและส่งต่อให้ผู้อื่น<ref>Artificial Mythologies: A Guide to Cultural Invention by Craig J. Saper (1997); Review of Artificial Mythologies. A Guide to cultural Invention, Kirsten Ostherr (1998)</ref> สิ่งประดิษฐ์มักเป็นองค์ประกอบสำคัญของความคิดสร้างสรรค์ทางศิลปะและการออกแบบ |
||
ยูจีน |
|||
== อ้างอิง == |
== อ้างอิง == |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:57, 9 พฤศจิกายน 2563
สิ่งประดิษฐ์ เป็นอุปกรณ์ วิธีการ องค์ประกอบหรือกระบวนการที่ไม่เหมือนอย่างอื่นหรือแปลกใหม่ กระบวนการสิ่งประดิษฐ์เป็นกระบวนการภายในกระบวนการวิศวกรรมโดยรวมและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ สิ่งประดิษฐ์การเป็นการปรับปรุงเครื่องจักรหรือผลิตภัณฑ์หรือกระบวนการใหม่สำหรับการสร้างวัตถุหรือผลลัพธ์อย่างหนึ่งก็ได้ งานดังกล่าวเป็นสิ่งใหม่และไม่ชัดเจนแก่ผู้อื่นที่มีทักษะในสาขาเดียวกัน ผู้ประดิษฐ์สิ่งประดิษฐ์เรียกว่า นักประดิษฐ์
สิ่งประดิษฐ์ดังกล่าวสามารถจดสิทธิบัตรได้ สิทธิบัตรเป็นการคุ้มครองสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาของนักประดิษฐ์ตามกฎหมาย และรับรองว่าสิ่งประดิษฐ์ตามอ้างนั้นเป็นสิ่งประดิษฐ์จริงตามกฎหมาย กฎและข้อกำหนดสำหรับการจดสิทธิบัตรสิ่งประดิษฐ์แตกต่างกันได้ตามประเทศ และกระบวนการได้มาซึ่งสิทธิบัตรนั้นมักมีค่าใช้จ่ายสูง
อีกความหมายหนึ่งของสิ่งประดิษฐ์ คือ สิ่งประดิษฐ์ทางวัฒนธรรม ซึ่งเป็นชุดพฤติกรรมทางสังคมที่เป็นประโยชน์อย่างนวัตกรรมที่บุคคลรับมาและส่งต่อให้ผู้อื่น[1] สิ่งประดิษฐ์มักเป็นองค์ประกอบสำคัญของความคิดสร้างสรรค์ทางศิลปะและการออกแบบ ยูจีน
อ้างอิง
- ↑ Artificial Mythologies: A Guide to Cultural Invention by Craig J. Saper (1997); Review of Artificial Mythologies. A Guide to cultural Invention, Kirsten Ostherr (1998)