รัฐทมิฬนาฑู
รัฐทมิฬนาฑู | |
---|---|
บนลงล่างและซ้ายไปขวา: พริหทิสวรมนเทียร, มนเทียรริมหาดแห่งมหาพลีปุรัม, รังคนาถสวามีมนเทียร, เทือกเขานิลคีรีจากยอเขาโทฑดเภตตา, น้ำตกโหเคนักกัล และอนุสรณ์สถานหินวิเวกานันท์ | |
คำขวัญ: วัยไมเย เวลลุม (Vaymaiye Vellum) (เพียงสัจจะซึ่งอัปราชัย) (Truth alone triumphs) | |
เพลง: "ทมิฬตายวาฬตุ" (Tamil Thai Valthu) (บทภาวนาถึงพระมารดาทมิฬ) (Invocation to Mother Tamil) | |
ที่ตั้งในประเทศอินเดีย | |
พิกัด: 13°05′N 80°16′E / 13.09°N 80.27°E | |
ประเทศ | อินเดีย |
ก่อตั้ง | 1 พฤษภาคม 1956 (วันทมิฬนาฑู) |
เมืองหลวงและ เมืองใหญ่สุด | เจนไน |
อำเภอ | 38 |
การปกครอง | |
• องค์กร | รัฐบาลรัฐทมิฬนาฑู |
• ราชยปาล | อาร์.เอน.ราวิ (R N Ravi) |
• มุขนายก | เอม.แก.สตาลิน (M K Stalin) (DMK) |
• รองมุขยนายก | โอ. ปันนีร์เสลวัม (O. Panneerselvam) (AIADMK) |
• นิติบัญญัติ | ระบบสภาเดี่ยว (234)[1] |
• สภานิติบัญญัติ | โลกสภา (39) ราชยสภา (18) |
พื้นที่ | |
• ทั้งหมด | 130,058 ตร.กม. (50,216 ตร.ไมล์) |
อันดับพื้นที่ | ที่ 10 |
ประชากร (2011)[2] | |
• ทั้งหมด | 72,147,030 คน |
• อันดับ | ที่ 6 |
• ความหนาแน่น | 550 คน/ตร.กม. (1,400 คน/ตร.ไมล์) |
เดมะนิม | ชาวทมิฬ (ทมิฬร์ - Tamizhar/Tamilar) |
GDP (2019–20)[3] | |
• รวม | ₹18.54ข้อผิดพลาดนิพจน์: "lc" เป็นคำที่ไม่รู้จัก |
• ต่อประชากร | ₹214,236 |
ภาษา | |
• ทางการ | ภาษาทมิฬ[4] |
• ทางการเพิ่มเติม | ภาษาอังกฤษ[4] |
เขตเวลา | UTC+05:30 (IST) |
รหัส ISO 3166 | IN-TN |
ทะเบียนพาหนะ | TN |
เอชดีไอ (2018) | 0.708[5] สูง · ที่ 11 |
การรู้หนังสือ (2011) | 80.33%[6] |
อัตาส่วนเพศ (2019) | 996 ♀/1000 ♂ |
เว็บไซต์ | www |
^# ชนะ คนะ มนะเป็นเพลงชาติของอินเดีย โดยมี "บทภาวนะแด่พระมารดาทมิฬ" เป็นเพลงประจำรัฐ ^† ตั้งในปี 1773; รัฐมัทราสตั้งในปี 1950 และเปลี่ยนชื่อเป็นทมิฬนาฑูเมื่อวันที่ 14 มกราคม 1969[7] | |
สัญลักษณ์ | |
ตรา | ศรีวิลลิปุฐูรอันทัลมนเทียร |
ภาษา | ภาษาทมิฬ |
เพลง | "บทภาวนาแก่พระมารดาทมิฬ" |
การแสดง | ภารตนาฏยัม |
สัตว์ | Nilgiri Tahr |
สัตว์ปีก | นกเขาเขียว |
แมลง | Tamil Yeoman |
ดอกไม้ | Gloriosa lily |
ผลไม้ | ขนุน |
ต้นไม้ | ต้นตาล |
กีฬา | Kabaddi |
ทมิฬนาฑู [ทะ-มิน-นา-ดู] (ทมิฬ: தமிழ்நாடு; อังกฤษ: Tamil Nadu) เป็นหนึ่งในรัฐของประเทศอินเดีย เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุดของรัฐคือเจนไน ทมิฬนาฑูตั้งอยู่ส่วนใต้สุดของอนุทวีปอินเดีย และมีอาณาเขตติดกับดินแดนสหภาพปูดูเชร์รี, รัฐเกรละ, รัฐกรณาฏกะ และรัฐอานธรประเทศ รัฐทมิฬนาฑูล้อมรอบด้วยเทือกเขาฆาฏตะวันออกทางเหนือ, เทือกเขานิลคีรี (Nilgiri Mountains), เทือกเขาเมฆมาไล (Meghamalai) ทางตะวันตก, ทะเลเบงกอล ทางตะวันออก, อ่าวมันนาร์ (Gulf of Mannar) และช่องแคบพอล์ก (Palk Strait) ทางตะวันออกเฉียงใต้, และมหาสมุทรอินเดียทางใต้ รัฐทมิฬนาฑูมีชายแดนทางทะเลติดกับประเทศศรีลังกา
ภูมิภาคนี้ในประวัติศาสตร์ถูกปกครองภายใต้หลายจักรรวรรดิ หนึ่งในนั้นที่มีชื่อเสียงที่สุดคือมูเวนธรทั้งสาม (Three Crowned Kings) – ราชวงศ์เฌอร่า, ราชวงศ์โจฬะ และราชวงศ์ปันทยะ ซึ่งช่วยทำให้ทมิฬมีวัฒนธรรมทมิฬ อาหารทมิฬ และสถาปัตยกรรมทมิฬที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง หลังการล่มสลายของอาณาจักรไมซอร์ (Kingdom of Mysore) จักรวรรดิบริเตนได้นำไปสู่ภาวะฉุกเฉินของเจนไน หรือมัสทราสในขณะนั้น รัฐทมิฬนาฑูในปัจจุบันตั้งขึ้นเมื่อปี 1956 ตามการประกาศใช้ States Reorganisation Act, 1956 รัฐทมิฬนาฑูเป็นที่ตั้งของโบราณสถาน สถานที่แสวงบุญ และแหล่งมรดกโลกสามแห่ง[8][9][10]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Tamil Nadu: K. Shanmugam appointed as new Tamil Nadu Chief Secretary". The Hindu. Tamil Nadu. สืบค้นเมื่อ 29 June 2019.
- ↑ "Census of india 2011" (PDF). Government of India. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 13 November 2013. สืบค้นเมื่อ 6 January 2014.
- ↑ "MOSPI Net State Domestic Product, Ministry of Statistics and Programme Implementation, Government of India". สืบค้นเมื่อ 7 April 2020.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ 4.0 4.1 "52nd report of the Commissioner for Linguistic Minorities in India (July 2014 to June 2015)" (PDF). Ministry of Minority Affairs (Government of India). 29 March 2016. p. 132. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 25 May 2017.
- ↑ "Sub-national HDI – Area Database". Global Data Lab (ภาษาอังกฤษ). Institute for Management Research, Radboud University. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 September 2018. สืบค้นเมื่อ 25 September 2018.
- ↑ "censusindia.gov.in" (PDF). เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 19 April 2016. สืบค้นเมื่อ 2 September 2014.
- ↑ Tamil Nadu Legislative Assembly history 2012.
- ↑ UNESCO 2012.
- ↑ Press Information Bureau releases 2012.
- ↑ "The Living culture of the Tamils; The UNESCO Courier: a window open on the world" (PDF). The UNESCO Courier. XXXVII, 3, 1984. March 1984. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 17 April 2018. สืบค้นเมื่อ 28 May 2018.