การประท้วงในประเทศนิการากัว พ.ศ. 2561–2565
การประท้วงในประเทศนิการากัว พ.ศ. 2561 | |||
---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ การประท้วงในประเทศนิการากัว พ.ศ. 2556–2561 | |||
จากบนลงล่าง: หญิงชาวนิการากัวกำลังโบกธงชาติใกล้ที่กำบังที่มีไฟไหม้, ฝูงชนขนานใหญ่กำลังประท้วงในกรุงมานากัว, การจุดเทียนไว้อาลัยแก่ผู้เสียชีวิตจากการประท้วง | |||
วันที่ | 18 เมษายน 2561 – ยังคงดำเนินอยู่ (6 ปี 7 เดือน 3 สัปดาห์) | ||
สถานที่ | นิการากัว | ||
สาเหตุ | การปฏิรูปหลักประกันสังคมและการทุจริตในตำแหน่งหน้าที่ | ||
เป้าหมาย |
| ||
การยอมผ่อนปรน |
| ||
คู่ขัดแย้ง | |||
| |||
ผู้นำ | |||
| |||
จำนวน | |||
| |||
ความเสียหาย | |||
เสียชีวิต | 325–568 คน[8] | ||
บาดเจ็บ | มากกว่า 2,800 คน[6][7] | ||
ถูกจับกุม | มากกว่า 600–1,500 คน[9] |
การประท้วงในประเทศนิการากัว พ.ศ. 2561 เริ่มขึ้นในวันที่ 18 เมษายน เมื่อกลุ่มผู้ชุมนุมในหลายเมืองของนิการากัวเริ่มประท้วงต่อต้านแผนการปฏิรูประบบหลักประกันสังคมของประธานาธิบดีดานิเอล ออร์เตกา ซึ่งจะเพิ่มอัตราภาษีเงินได้และภาษีค่าจ้าง แต่จะลดอัตราการจ่ายบำนาญลง หลังจากการปะทะระหว่างกลุ่มผู้ชุมนุมประท้วงกับตำรวจและผู้สนับสนุนรัฐบาลผ่านไป 5 วัน และมีผู้เสียชีวิตเกือบ 30 คน ออร์เตกาก็ประกาศยกเลิกการปฏิรูปดังกล่าว อย่างไรก็ตาม ระหว่างการประท้วงใน พ.ศ. 2556–2561 ฝ่ายต่อต้านได้เริ่มหันมากล่าวโทษออร์เตกาและเรียกร้องให้เขาลาออกจากตำแหน่งด้วย กลายเป็นหนึ่งในการประท้วงครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ของรัฐบาลออร์เตกา[10] และเป็นความขัดแย้งกลางเมืองที่ร้ายแรงที่สุดนับตั้งแต่สิ้นสุดการปฏิวัตินิการากัว[11]
ด้วยเหตุจากความไม่สงบดังกล่าว กลุ่มผู้ชุมนุมประท้วงรวมถึงภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศจึงเรียกร้องให้ออร์เตกาเลื่อนการเลือกตั้งประธานาธิบดีครั้งต่อไปให้เร็วขึ้น โดยมีสหภาพยุโรปเป็นผู้สนับสนุนข้อเรียกร้องนี้[12]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Solano, Jacqueline (24 April 2018). "PUSC solicita renuncia de Ortega y Rosario Murillo" (ภาษาสเปน). El Diario Extra. สืบค้นเมื่อ 8 May 2018.
- ↑ "Nicaragua pide la renuncia de Daniel Ortega" (ภาษาสเปน). Honduras: La Prensa. 28 April 2018. สืบค้นเมื่อ 8 May 2018.
- ↑ Salinas, Carlos (29 April 2018). "Nicaragua se vuelca en una gigantesca marcha contra Ortega". El País (ภาษาสเปน). สืบค้นเมื่อ 29 April 2018.
Convened by the Catholic Church, hundreds of thousands of Nicaraguans take to the streets of the country demanding peace and the end of the regime. The bishops warn Ortega that there can be no dialogue without guarantees
- ↑ René Vargas, Oscar. "Nicaragua amanece con una nueva correlación de fuerzas sociales: se produjo un giro político". Aporrea.org (ภาษาสเปน). สืบค้นเมื่อ 30 April 2018.
- ↑ 5.0 5.1 Garvin, Glenn (30 April 2018). "Rally for embattled Nicaraguan president shows he still has lots of support". The Miami Herald. สืบค้นเมื่อ 3 May 2018.
- ↑ "Crisis de Nicaragua ha dejado 72 personas lisiadas de por vida en 100 días". 26 July 2018. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 July 2018. สืบค้นเมื่อ 27 July 2018.
- ↑ "448 muertos tras 100 días de crisis en Nicaragua". 27 July 2018. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 July 2018. สืบค้นเมื่อ 27 July 2018.
- ↑ "ONG establece en 568 el número de muertos en crisis de Nicaragua". La Vanguardia. 3 April 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 October 2019. สืบค้นเมื่อ 15 October 2019.
- ↑ "Crisis en Nicaragua: los estudiantes formaron una coalición para unificar propuestas de cara al diálogo con el régimen de Daniel Ortega". Infobae (ภาษาสเปน). 6 May 2018. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 May 2018. สืบค้นเมื่อ 6 May 2018.
- ↑ "Thousands protest against Nicaragua government, urge calm". ABC News. สืบค้นเมื่อ 24 April 2018.
- ↑ Robles, Frances (4 May 2018). "As Nicaragua Death Toll Grows, Support for Ortega Slips". The New York Times. ISSN 0362-4331. สืบค้นเมื่อ 5 May 2018.
- ↑ "Death toll rises in Nicaragua after protests against president come under fire". CBC News. 31 May 2018. สืบค้นเมื่อ 1 June 2018.