ข้ามไปเนื้อหา

ทูนามิเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก ทูนามิเอเชีย)
ทูนามิเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ประเทศIndonesia, Hong Kong, Thailand, Singapore, Sri Lanka, India , Philippines, Taiwan
คำขวัญHome of the Superheroes (unofficial)
สำนักงานใหญ่อาคารประชาช่าง ชั้น 2 30/2 ซอยนภาศัพท์ แยก 1 ถนนสุขุมวิท 36 แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110
ความเป็นเจ้าของ
เจ้าของTurner Broadcasting System Asia Pacific, Inc.
(Time Warner Inc.)
ช่องรองการ์ตูนเน็ตเวิร์คเอเชีย, บูมเมอแรงเอเชีย
ประวัติ
เริ่มออกอากาศ1 ธันวาคม พ.ศ. 2555 (11 ปี)
แทนที่Boomerang
ยุติออกอากาศ31 มีนาคม พ.ศ. 2561 (6 ปี)
ลิงก์
เว็บไซต์ToonamiAsia.com
ออกอากาศ
เคเบิลทีวี
StarHub TV (สิงคโปร์)ช่อง 315
SkyCable (ฟิลิปปินส์)ช่อง 42 (Digital)
Destiny Cable (ฟิลิปปินส์)ช่อง 42 (Digital)
Cablelink (ฟิลิปปินส์)ช่อง 214
Cable TV Hong Kong (ฮ่องกง)ช่อง 30
First Media (อินโดนีเซีย)ช่อง 126
DIGI Cable (มุมไบ, อินเดีย)ช่อง 416
[IN Digital] (Nagpur,อินเดีย)ช่อง 333
MediaNet (มัลดีฟส์)ช่อง 203
ทีวีดาวเทียม
Cignal Digital TV (ฟิลิปปินส์)ช่อง 36
Indovision (อินโดนีเซีย)ช่อง 47
Astro (มาเลเซีย)ช่อง TBA
พีเอสไอ (ไทย)ช่อง 90
จีเอ็มเอ็มแซต (ไทย)ช่อง 90
ไอพีเอ็ม (ไทย)ช่อง 90
Dialog TV
(ศรีลังกา)
ช่อง 47
G Sat (ฟิลิปปินส์)Coming Soon
Dream Satellite TV (ฟิลิปปินส์)Coming Soon

ทูนามิเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อังกฤษ: Toonami Southeast Asia) เป็นช่องสถานีโทรทัศน์ ที่ออกฉายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมีต้นแบบมาจากช่องทูนามิ ของสหรัฐอเมริกา และทำการยุติออกอากาศ ในวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2561

ทูนามิ ในประเทศไทย

[แก้]

ทูนามิได้ออกอากาศในประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2555 โดยเคเบิลท้องถิ่น ภายหลังถูกย้ายมายัง บริษัท ซีทีเอช จำกัด (มหาชน) และ บริษัท ทีโอทีไอพีทีวี จำกัด ต่อมาประเทศไทยนั้นได้มีการเปิดตัว ทูนามิ (ไทย) ในวันที่ 14 มกราคม 2558 ซึ่งจะทำให้สามารถดูช่องทูนามิผ่านทางเคเบิล/ดาวเทียมทั่วประเทศได้ฟรี[1] (โดยแทนที่ช่อง 6ที่ยุติออกอากาศ) โดยสามารถดูผ่านจานดาวเทียมแบบฟรี ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น ทีเอ็นที (TNT) เพิ่มรายการเรียลลิตี้และตลกขบขัน ปัจจุบันได้ทำการยุติออกอากาศในประเทศไทยแล้วเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2561 ปัจจุบันรายการและการ์ตูนต่างๆ ของช่องทูนามิประเทศไทยบางส่วนนำไปฉายในช่องบูมเมอแรงประเทศไทย

รายการที่ออกอากาศ

[แก้]

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "เมเจอร์ กันตนา บรอดแคสติ้ง จับมือ เทิร์นเนอร์ เอเชีย แปซิฟิค". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-07-06. สืบค้นเมื่อ 2017-07-26.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]