ข้ามไปเนื้อหา

ประเทศจาเมกา

พิกัด: 18°10′48″N 77°24′00″W / 18.18000°N 77.40000°W / 18.18000; -77.40000
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก ประเทศจาไมกา)
จาเมกา

Jamaica (อังกฤษ)
คำขวัญ"จากคนหมู่มากรวมเป็นหนึ่ง"
(อังกฤษ: Out of Many, One People)
ที่ตั้งของจาเมกา
เมืองหลวง
และเมืองใหญ่สุด
คิงส์ตัน
17°58′17″N 76°47′35″W / 17.97139°N 76.79306°W / 17.97139; -76.79306
ภาษาราชการอังกฤษ
ภาษาประจำชาติครีโอลจาเมกา (โดยพฤตินัย)
กลุ่มชาติพันธุ์
(2011[3])
ศาสนา
การปกครองรัฐเดี่ยว ระบบรัฐสภา ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ
สมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3
แพทริก อัลเลน
แอนดรูว์ โฮลเนสส์
สภานิติบัญญัติรัฐสภา
วุฒิสภา
สภาผู้แทนราษฎร
เอกราช 
• ได้รับ
6 สิงหาคม ค.ศ. 1962
พื้นที่
• รวม
10,991 ตารางกิโลเมตร (4,244 ตารางไมล์) (อันดับที่ 160)
1.5
ประชากร
• 2018 ประมาณ
2,726,667[5] (อันดับที่ 141)
• สำมะโนประชากร 2011
2,697,983[6]
266[7] ต่อตารางกิโลเมตร (688.9 ต่อตารางไมล์)
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2018 (ประมาณ)
• รวม
26.981 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ[8] (อันดับที่ 134)
9,434 ดอลลาร์สหรัฐ[8] (อันดับที่ 109)
จีดีพี (ราคาตลาด) 2018 (ประมาณ)
• รวม
15.424 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ[8] (อันดับที่ 119)
$5,393[8] (อันดับที่ 95)
จีนี (2016)positive decrease 35[9]
ปานกลาง
เอชดีไอ (2019)เพิ่มขึ้น 0.734[10]
สูง · อันดับที่ 101
สกุลเงินดอลลาร์จาเมกา (JMD)
เขตเวลาUTC-5
ขับรถด้านซ้ายมือ
รหัสโทรศัพท์+1-876
+1-658 (Overlay of 876; ใช้งานในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2018)
โดเมนบนสุด.jm

จาเมกา (อังกฤษ: Jamaica; Jamaican Patois: Jumieka) เป็นประเทศที่เป็นเกาะในภูมิภาคเกรตเตอร์แอนทิลลีส เกาะจาเมกาเป็นเกาะที่มีความยาว 240 กิโลเมตร และกว้าง 85 กิโลเมตร และตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียน มีระยะห่าง 635 กิโลเมตร ไปทางตะวันออกของอเมริกากลางแผ่นดินใหญ่ มีระยะห่าง 150 กิโลเมตร ไปทางใต้ของคิวบา และ 180 กิโลเมตร ไปทางตะวันตกของเกาะฮิสปันโยลาซึ่งเป็นที่ตั้งของเฮติและสาธารณรัฐโดมินิกัน โดยมีหมู่เกาะเคย์แมนอยู่ห่างไปทางตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ 215 กิโลเมตร เกาะจาเมกามีขนาดใหญ่เป็นอันดับสามรองจากเกาะคิวบาและเกาะฮิสปันโยลา[11]

ศัพทมูลวิทยา

[แก้]

ชื่อประเทศ "จาเมกา" นั้นมาจากการเรียกขานเกาะของชนพื้นเมืองตาอีโน (Taíno) ที่พูดภาษาอาราวัก (Arawakan) ที่เรียกเกาะนี้ว่า "ฌาเมคา" (Xaymaca) ซึ่งแปลได้เป็นสองความหมายคือ "ดินแดนแห่งใบไม้ผลิ" หรือ "แดนแห่งป่าและน้ำ" จาเมกาเคยตกอยู่ใต้อาณัติของจักรวรรดิสเปน ซึ่งเรียกเกาะนี้ว่า ซันเดียโก (Santiago) จากนั้นจึงตกอยู่ในการครอบครองของราชอาณานิคมอินดีสตะวันตกแห่งบริเตน (British Crown Colony of West Indies) ที่แปลงคำภาษาพื้นเมืองที่ใช้เรียกชื่อเกาะ จากฌาเมคา มาเป็นจาเมกาซึ่งกลายเป็นชื่อของเกาะและประเทศที่อยู่บนเกาะนั้นมาจนถึงทุกวันนี้ ประชากรของจาเมกาส่วนใหญ่ประกอบด้วยผู้สืบเชื้อสายมาจากทาสชาวแอฟริกา จาเมกายังเป็นประเทศที่ประชากรพูดและเขียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลักมากที่สุดในทวีปอเมริกาทั้งเหนือ, กลางและใต้เป็นอันดับสาม รองจากสหรัฐอเมริกาและแคนาดา โดยทั่วไปแล้ว คนไทยมักอ่านออกเสียงผิดจาก "จาเมกา" เป็น "จาไมกา" (อ่านออกเสียงว่า จา-ไม-ก้า) เสียมากกว่

อ้างอิง

[แก้]
  1. Collins, Olive. "Welcome to Sligoville: The story of the Irish in Jamaica". The Irish Times. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 October 2019. สืบค้นเมื่อ 14 April 2020.
  2. "CIA World Factbook (Jamaica)". United States Government. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 January 2021. สืบค้นเมื่อ 15 May 2007.
  3. The CIA World Factbook – Jamaica เก็บถาวร 24 มกราคม 2021 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน . Retrieved 2015-09-16.
  4. "The World Factbook – Central Intelligence Agency". Cia.gov. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 January 2021. สืบค้นเมื่อ 2017-09-25.
  5. "Data Query Total Population by sex (thousands)". UNITED NATIONS/DESA/POPULATION DIVISION. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 September 2016. สืบค้นเมื่อ 18 April 2018.
  6. "Population Usually Resident in Jamaica, by Parish: 2011". Statistical Institute of Jamaica. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 February 2020. สืบค้นเมื่อ 2019-12-28.
  7. "Data Query – Population density (persons per square km), as of 1 July". UNITED NATIONS/DESA/POPULATION DIVISION. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 September 2016. สืบค้นเมื่อ 18 April 2018.
  8. 8.0 8.1 8.2 8.3 "World Economic Outlook Database, October 2018". IMF.org. International Monetary Fund. สืบค้นเมื่อ 12 March 2019.
  9. "The World Factbook". CIA.gov. Central Intelligence Agency. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 January 2021. สืบค้นเมื่อ 12 March 2019.
  10. Human Development Report 2020 The Next Frontier: Human Development and the Anthropocene (PDF). United Nations Development Programme. 15 December 2020. pp. 343–346. ISBN 978-92-1-126442-5. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 15 December 2020. สืบค้นเมื่อ 16 December 2020.
  11. "CIA World Factbook – Jamaica". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 July 2018. สืบค้นเมื่อ 29 July 2019.

อ่านเพิ่ม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
ข้อมูลรัฐบาล
ข้อมูลทั่วไป

18°10′48″N 77°24′00″W / 18.18000°N 77.40000°W / 18.18000; -77.40000