มิดาโซแลม
ข้อมูลทางคลินิก | |
---|---|
การอ่านออกเสียง | /mɪˈdæzəlæm/ |
ชื่อทางการค้า | Dormicum, Hypnovel, Versed |
AHFS/Drugs.com | โมโนกราฟ |
MedlinePlus | a609003 |
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์ | |
ช่องทางการรับยา | รับประทาน, ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ, ฉีดเข้าหลอดเลือด, สูดดม, สายละสารส่งทางสาย |
รหัส ATC | |
กฏหมาย | |
สถานะตามกฏหมาย |
|
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์ | |
ชีวประสิทธิผล | ราว 40% โดยการรับประทาน[1][2] intramuscular 90%+ |
การจับกับโปรตีน | 97% |
การเปลี่ยนแปลงยา | ตับ 3A3, 3A4, 3A5 |
ระยะเริ่มออกฤทธิ์ | ภายใน 5 นาที (ฉีดเข้าหลอดเลือด), 15 นาที (ฉีดกล้ามเนื้อ), 20 นาที (ทาน)[3] |
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ | 1.5 ถึง 2.5 ชั่วโมง[4] |
ระยะเวลาออกฤทธิ์ | 1 to 6 hrs[3] |
การขับออก | ไต |
ตัวบ่งชี้ | |
| |
เลขทะเบียน CAS | |
PubChem CID | |
IUPHAR/BPS | |
DrugBank | |
ChemSpider | |
UNII | |
KEGG | |
ChEMBL | |
ECHA InfoCard | 100.056.140 |
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี | |
สูตร | C18H13ClFN3 |
มวลต่อโมล | 325.78 g·mol−1 |
แบบจำลอง 3D (JSmol) | |
| |
| |
(verify) | |
มิดาโซแลม (Midazolam) หรือชื่อทางการค้าคือ เวอร์เซด (Versed) เป็นยาในกลุ่มเบ็นโซไดอาเซพีนออกฤทธิผ่านกรดแกมมาอะมิโนบิวทีริก ใช้สำหรับทำให้สลบ, ใช้เป็นยาระงับประสาท, รักษาอาการนอนไม่หลับ และรักษาภาวะกายใจไม่สงบ[3] ผู้คนมักใช้ยานี้เป็นยานอนหลับและลดความวิตกกังวล การใช้ยานี้ส่งผลให้ความสามารถในการจำแย่ลง[3] ยานี้ยังเป็นประโยชน์อย่างมากในการระงับอาการชัก[5] สามารถรับยานี้ได้โดยวิธีรับประทาน, ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ, ฉีดเข้าหลอดเลือดดำ, สูดดม หรือรับเป็นสายละลายผ่านท่อน้ำเกลือ[3][5] หากใช้วิธีฉีดเข้าหลอดเลือดจะออกฤทธิภายในห้านาที หากเป็นการฉีดเข้ากล้ามเนื้อจะออกฤทธิในสิบห้านาที[3] และจะออกฤทธิเป็นเวลาหนึ่งถึงหกชั่วโมง[3]
ผลข้างเคียงจากการใช้ยามิดาโซแลม ได้แก่ หายใจลำบาก, ความดันโลหิตต่ำ และง่วงนอน หากใช้ยานี้ในระยะยาวอาจเกิดภาวะดื้อยาและการเสพติด[6] สตรีมีครรภ์ควรงดใช้ยานี้ สตรีให้นมบุตรสามารถใช้ได้ในปริมาณจำกัด[7][8] มีดาโซแลมเป็นยาที่ถูกขึ้นทะเบียนเป็นยาหลักขององค์การอนามัยโลก[9]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Heizmann P, Eckert M, Ziegler WH (2012). "Pharmacokinetics and bioavailability of midazolam in man". British Journal of Clinical Pharmacology. 16 Suppl 1: 43S–49S. doi:10.1111/j.1365-2125.1983.tb02270.x. PMC 1428091. PMID 6138080.
- ↑ Johnson TN, Rostami-Hodjegan A, Goddard JM, Tanner MS, Tucker GT (September 2002). "Contribution of midazolam and its 1-hydroxy metabolite to preoperative sedation in children: a pharmacokinetic-pharmacodynamic analysis" (PDF). British Journal of Anaesthesia. 89 (3): 428–37. doi:10.1093/bja/aef213. PMID 12402721.
- ↑ 3.0 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 3.6 "Midazolam Hydrochloride". The American Society of Health-System Pharmacists. สืบค้นเมื่อ Aug 1, 2015.
- ↑ "Midazolam Injection" (PDF). Medsafe. New Zealand Ministry of Health. 2012-10-26. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-02-22. สืบค้นเมื่อ 2016-04-06.
- ↑ 5.0 5.1 Brigo F, Nardone R, Tezzon F, Trinka E (August 2015). "Nonintravenous midazolam versus intravenous or rectal diazepam for the treatment of early status epilepticus: A systematic review with meta-analysis". Epilepsy & Behavior. 49: 325–36. doi:10.1016/j.yebeh.2015.02.030. PMID 25817929.
- ↑ Riss J, Cloyd J, Gates J, Collins S (August 2008). "Benzodiazepines in epilepsy: pharmacology and pharmacokinetics". Acta Neurologica Scandinavica. 118 (2): 69–86. doi:10.1111/j.1600-0404.2008.01004.x. PMID 18384456.
- ↑ Hamilton R (2015). Tarascon Pocket Pharmacopoeia 2015 Deluxe Lab-Coat Edition. Jones & Bartlett Learning. p. 21. ISBN 9781284057560.
- ↑ "Midazolam use while Breastfeeding". สืบค้นเมื่อ 29 August 2015.
- ↑ "WHO Model List of Essential Medicines" (PDF). World Health Organization. October 2013. สืบค้นเมื่อ 22 April 2014.