รายการกฎการอนุมาน
หน้าวิกิพีเดียนี้ มีจุดประสงค์เพื่อรวบรวมรายการกฎการอนุมาน (rules of inference ) ซึ่งเป็นกฎทางตรรกศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการคำนวณสมการเชิงคณิตตรรกศาสตร์
กฎการอนุมาน
[แก้]กฎการอนุมานเป็นกฎการแปลงทางสัณฐานวิทยา สามารถใช้เพื่อสรุปข้อสรุปจากหลักฐานเพื่อโต้เถียงกลับเชิงตรรกะได้ สามารถใช้ชุดของกฎเพื่ออนุมานข้อสรุปที่ถูกต้องจากหลักฐานเชิงตรรกศาสตร์ที่สมบูรณ์ได้ (ในขณะที่จะไม่สามารภอนุมานข้อสรุปถูกต้องได้ หากหลักฐานเชิงตรรกศาสตร์นั้นไม่ครบถ้วน) กฎที่สมบูรณ์ครบถ้วนไม่จำเป็นต้องรวมทุกกฎทั้งหมดที่มีในรายการต่อไปนี้ เนื่องจากกฎหลายข้อนั้นมีความซ้ำซ้อนและสามารถพิสูจน์ได้ด้วยกฎอื่น ๆ
กฎสำหรับแคลคูลัสเชิงประพจน์แบบคลาสสิก
[แก้]รายการด้านล่างคือกฎการอนุมานสำหรับแคลคูลัสเชิงประพจน์ (propositional calculus) แบบคลาสสิก
กฎนิเสธ (Rules for negations)
[แก้]- Reductio ad absurdum (หรือ Negation Introduction)
- Reductio ad absurdum (เกี่ยวข้องกับ law of excluded middle )
- กฎนิเสธซ้อนนิเสธ (Double negation elimination )
กฎสำหรับหรือ (Rules for conditionals)
[แก้]- การแจ้งผลตามเหตุ (Modus ponens หรือ Conditional Elimination)
- การค้านผลตามเหตุ (Modus tollens )
กฎสำหรับและ (Rules for conjunctions)
[แก้]- Adjunction (หรือ Conjunction Introduction)
- การแจงผลร่วม (Simplification หรือ Conjunction Elimination)
กฎสำหรับถ้า... แล้ว... (Rules for disjunctions)
[แก้]- การเติมผล (Addition หรือ Disjunction Introduction)
- Case analysis (หรือ Proof by Cases หรือ Argument by Cases หรือ Disjunction elimination)
- ตรรกบทแบบคัดออก (Disjunctive syllogism )
- การเลือกผลตามเหตุ (Constructive dilemma )
กฎสำหรับก็ต่อเมื่อ (Rules for biconditionals)
[แก้]ตารางกฎการอนุมาน
[แก้]กฎด้านบนนั้นสามารถรวมกันไว้ได้ตามตารางนี้[1] ตารางคอลัมน์สัจนิรันดร์ (Tautology ) แสดงวิธีการแสดงกฎแต่ละข้อตามหลักคณิตตรรกศาสตร์แบบสัจนิรันดร์
Rules of inference | สัจนิรันดร์ | ชื่อภาษาอังกฤษ | ชื่อภาษาไทย |
---|---|---|---|
Modus ponens | กฎการแจงผลตามเหตุ | ||
Modus tollens | กฎการแจงผลค้านเหตุ | ||
Associative | กฎการเปลี่ยนหมู่ | ||
Commutative | |||
Law of biconditional propositions | |||
Exportation | |||
Transposition or contraposition law | |||
Hypothetical syllogism | ตรรกบทแบบสมมติฐาน | ||
Material implication | |||
Distributive | กฎการแจกแจง | ||
Absorption | กฎการซึมซับ | ||
Disjunctive syllogism | กฎตรรกบทแบบคัดออก | ||
Addition | กฎการเติมผล | ||
Simplification | กฎการแจงผลร่วม | ||
Conjunction | |||
Double negation | นิเสธซ้อนนิเสธ | ||
Disjunctive simplification | การแจงผลร่วมแบบคัดออก | ||
Resolution | |||
Disjunction Elimination |
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ Kenneth H. Rosen (2003). Discrete Mathematics and its Applications (Fifth ed.). McGraw-Hill. p. 58. ISBN 9780072424348.