ข้ามไปเนื้อหา

ไปรยา

พิกัด: 14°55′05″N 23°30′32″W / 14.918°N 23.509°W / 14.918; -23.509
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไปรยา
เมืองหลวง
ตามเข็มนาฬิกา: ภาพของ Monte Vermelho; ศาลากลางไปรยา; Monumento de Diogo Gomes; ภาพถ่ายทางอากาศของไปรยา; Fundação Amílcar Cabral; Palácio da Cultura Ildo Lobo.
ตราอย่างเป็นทางการของไปรยา
ตรา
ไปรยาตั้งอยู่ในประเทศกาบูเวร์ดี
ไปรยา
ไปรยา
ที่ตั้งของไปรยาในประเทศกาบูเวร์ดี
ไปรยาตั้งอยู่ในแอฟริกา
ไปรยา
ไปรยา
ไปรยา (แอฟริกา)
พิกัด: 14°55′05″N 23°30′32″W / 14.918°N 23.509°W / 14.918; -23.509
เกาะซังตียากู
เทศบาลไปรยา
เทศบาลตำบลโนซาซึโญราดากราซา
ก่อตั้งคริสต์ศตวรรษที่ 16
เมือง1858
พื้นที่
 • ทั้งหมด102.6 ตร.กม. (39.6 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (ประมาณ ค.ศ. 2017)
 • ทั้งหมด159,050 คน
 • ความหนาแน่น1,600 คน/ตร.กม. (4,000 คน/ตร.ไมล์)
เขตเวลาเวลากาบูเวร์ดี (UTC−01:00)

ไปรยา[1] (โปรตุเกส: Praia, ออกเสียง: [ˈpɾajɐ]; แปลว่า "ชายหาด") เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศกาบูเวร์ดี[2] ตั้งอยู่ชายหาดทางใต้ของเกาะซังตียากู มีท่าเรือข้ามฟากและมีสนามบินแห่งชาติ 4 แห่ง เป็นเมืองศูนย์กลางการค้า ส่งออกกาแฟ อ้อย ผลไม้เมืองร้อน มีอุตสาหกรรมการประมง

ภูมิศาสตร์

[แก้]

ภูมิอากาศ

[แก้]

ไปรยามีสภาพภูมิอากาศแบบทะเลทราย (เคิพเพิน: BWh) ที่มีฤดูฝนสั้นและฤดูแล้งนาน โดยในช่วงเดือนสิงหาคมถึงตุลาคมมีหยาดน้ำฟ้าที่ไปรยาน้อยมาก ในเมืองมีฝนตกเฉลี่ยประมาณ 210 มิลลิเมตร (8.3 นิ้ว) ต่อปี อุณหภูมิในบริเวณอยู่ในระดับอุ่นและคงที่ โดยมีอุณหภูมิสูงเฉลี่ย 27 องศาเซลเซียส (81 องศาฟาเรนไฮต์) และอุณหภูมิต่ำเฉลี่ย 22 องศาเซลเซียส (72 องศาฟาเรนไฮต์)

ข้อมูลภูมิอากาศของไปรยา (ท่าอากาศยานนานาชาติเนลสัน แมนเดลา) ค.ศ. 1981–2010
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 31.9
(89.4)
33.1
(91.6)
34.2
(93.6)
33.4
(92.1)
33.3
(91.9)
34.1
(93.4)
32.5
(90.5)
33.1
(91.6)
36.2
(97.2)
34.8
(94.6)
33.0
(91.4)
31.0
(87.8)
36.2
(97.2)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 26.5
(79.7)
27.0
(80.6)
28.1
(82.6)
28.2
(82.8)
28.9
(84)
29.6
(85.3)
29.6
(85.3)
30.4
(86.7)
30.9
(87.6)
31.0
(87.8)
29.7
(85.5)
27.7
(81.9)
29.0
(84.2)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) 22.9
(73.2)
22.9
(73.2)
23.6
(74.5)
23.9
(75)
24.7
(76.5)
25.5
(77.9)
26.1
(79)
27.1
(80.8)
27.4
(81.3)
27.2
(81)
26.1
(79)
24.1
(75.4)
25.1
(77.2)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 19.3
(66.7)
19.2
(66.6)
19.5
(67.1)
19.9
(67.8)
20.7
(69.3)
21.6
(70.9)
22.7
(72.9)
23.9
(75)
24.2
(75.6)
23.6
(74.5)
22.5
(72.5)
20.8
(69.4)
21.5
(70.7)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 16.9
(62.4)
16.2
(61.2)
16.5
(61.7)
17.0
(62.6)
18.8
(65.8)
19.2
(66.6)
20.3
(68.5)
20.6
(69.1)
19.6
(67.3)
19.6
(67.3)
19.5
(67.1)
17.3
(63.1)
16.2
(61.2)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) 3.1
(0.122)
0.6
(0.024)
0.3
(0.012)
0.0
(0)
0.5
(0.02)
0.0
(0)
8.0
(0.315)
60.4
(2.378)
60.9
(2.398)
31.0
(1.22)
2.7
(0.106)
5.0
(0.197)
172.5
(6.791)
ความชื้นร้อยละ 65.7 63.3 62.6 64.5 65.2 68.5 73.3 76.0 76.8 72.9 69.8 70.1 69.1
วันที่มีหยาดน้ำฟ้าโดยเฉลี่ย (≥ 0.1 mm) 1 0 0 0 0 0 2 7 7 4 2 1 24
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด 223.2 234.5 279.0 285.0 306.9 279.0 217.0 201.5 216.0 244.9 234.0 204.6 2,925.6
แหล่งที่มา 1: Instituto Nacional de Meteorologia e Geofísica[3]
แหล่งที่มา 2: Deutscher Wetterdienst (สูงสุด, วันที่มีหยาดน้ำฟ้า และดวงอาทิตย์)[4]

ประชากร

[แก้]
โบสถ์ Nossa Senhora da Graça
จัตุรัส Alexandre Alburqueque, ย่าน Plateau

รายงานจากสำนักงานสถิติแห่งชาติ เมืองนี้มีประชากรในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2017 ประมาณ 159,050 คน ในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีประชากรในเมืองนี้ประมาณ 1,500 ถึง 2,000

ตอนที่เอ็ดมันด์ รอเบิร์ต เยี่ยมเยือนเมืองนี้ใน ค.ศ. 1832 เขาสังเกตเห็นว่าประชากรผิวดำที่ไปรยามีจำนวนประมาณ "สิบเก้าส่วนยี่สิบ" ของประชากรทั้งหมด[5]

ประชากรในเมืองไปรยา (ค.ศ. 1990–2017)
ปีประชากร±%
1990 61,644—    
2000 94,161+52.7%
2010 130,271+38.3%
2017 159,050+22.1%
ที่มา: City Population, citing the Instituto Nacional de Estatísticas เก็บถาวร 18 พฤศจิกายน 2008 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.

ความสัมพันธ์กับนานาชาติ

[แก้]

ไปรยาเป็นเมืองพี่น้องกับเมืองดังนี้:

อ้างอิง

[แก้]
  1. "ประกาศสำนักงานราชบัณฑิตยสภา เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 139 (พิเศษ 205 ง). 1 กันยายน 2565.
  2. Cape Verde, Statistical Yearbook 2015, Instituto Nacional de Estatística
  3. "Normais Climatológicas" (ภาษาโปรตุเกส). Instituto Nacional de Meteorologia e Geofísica. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 December 2020. สืบค้นเมื่อ 28 December 2020.
  4. "Klimatafel von Praia / Sao Tiago / Kapverden (Rep. Kap Verde)" (PDF). Baseline climate means (1961–1990) from stations all over the world (ภาษาเยอรมัน). Deutscher Wetterdienst. สืบค้นเมื่อ 6 November 2018.
  5. Roberts, Edmund (1837). Embassy to the Eastern Courts of Cochin-China, Siam, and Muscat. New York: Harper & Brothers. pp. 19–20.
  6. "Sister cities". boston.gov. City of Boston. สืบค้นเมื่อ 19 February 2020.
  7. "Geminações". cm-faro.pt (ภาษาโปรตุเกส). Faro. สืบค้นเมื่อ 11 December 2019.
  8. "Geminações de Cidades e Vilas: Figueira da Foz". anmp.pt (ภาษาโปรตุเกส). Associação Nacional de Municípios Portugueses. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-12-12. สืบค้นเมื่อ 10 December 2019.
  9. "Acordos de Geminação". cm-funchal.pt (ภาษาโปรตุเกส). Funchal. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-12-12. สืบค้นเมื่อ 10 December 2019.
  10. "Geminações". cm-gondomar.pt (ภาษาโปรตุเกส). Gondomar. สืบค้นเมื่อ 12 December 2019.
  11. "Sister Cities". english.jinan.gov.cn. Jinan. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-06. สืบค้นเมื่อ 19 February 2020.
  12. "Acordos de geminação". lisboa.pt (ภาษาโปรตุเกส). Lisboa. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-02-03. สืบค้นเมื่อ 3 February 2020.
  13. "Exchange between IACM and other cities" (PDF). iam.gov.mo. Governo da Região Administrativa Special de Macau. 2019. สืบค้นเมื่อ 19 February 2020.
  14. "Geminações de Cidades e Vilas: Ponta Delgada". anmp.pt (ภาษาโปรตุเกส). Associação Nacional de Municípios Portugueses. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-05-12. สืบค้นเมื่อ 12 December 2019.
  15. "Providence Gets Its Fifth Sister City, But No One Knows for Sure". golocalprov.com. GoLocalProv News. 13 October 2016. สืบค้นเมื่อ 19 February 2020.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]