บอยส์แอนด์เกิร์ลส์
"บอยส์แอนด์เกิร์ลส์" | ||||
---|---|---|---|---|
ซิงเกิลโดยอายูมิ ฮามาซากิ | ||||
จากอัลบั้มLOVEppears และ A BEST | ||||
วางจำหน่าย | 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 | |||
บันทึกเสียง | พ.ศ. 2542 | |||
แนวเพลง | เจ-ป็อป | |||
ความยาว | 37:52 นาที | |||
ค่ายเพลง | เอเว็กซ์ แทร็กซ์ | |||
ผู้ประพันธ์เพลง | อายูมิ ฮามาซากิ | |||
โปรดิวเซอร์ | แม็กซ์ มัตสึอุระ | |||
ลำดับซิงเกิลของอายูมิ ฮามาซากิ | ||||
|
บอยส์แอนด์เกิร์ลส์ (ญี่ปุ่น: ボーイズ アンド ガールズ; โรมาจิ: Boizu ando Garuzu; ทับศัพท์: Boys & Girls) เป็นซิงเกิลที่ 9 ของอายูมิ ฮามาซากิ วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 โดยเปิดตัวสัปดาห์แรกที่อันดับที่ 2 ของชาร์ตออริกอน ด้วยยอดขาย 262,000 แผ่น เนื่องจากซิงเกิล "บีทูเก็ทเทอร์" ของอามิ ซุซูกิวางขายในวันเดียวกัน แต่ต่อมาก็สามารถขึ้นถึงอันดับที่ 1 ชาร์ตออริกอนได้ในสัปดาห์ถัดมา โดยสามารถครองอันดับที่ 1 ได้นานถึง 3 สัปดาห์ และมียอดขายมากกว่า 1 ล้านแผ่น โดยเป็นซิงเกิลที่มียอดขายสูงสุดตลอดกาลของญี่ปุ่นในลำดับที่ 221
"บอยส์แอนด์เกิร์ลส์" เป็นซิงเกิลแรกของอายูมิที่สามารถขึ้นถึงอันดับที่ 1 ออริกอนชาร์ตยาวนานถึง 3 สัปดาห์ และมียอดขายมากกว่า 1 ล้านแผ่นเป็นซิงเกิลแรก จึงส่งผลให้อายูมิแจ้งเกิดในวงการเพลงของญี่ปุ่น โดยเป็นปีแรกที่เธอสามารถเข้าร่วมงานขาว-แดงของสถานีโทรทัศน์ HNK อีกทั้งยังส่งผลให้ซิงเกิลต่อๆมาของเธอขึ้นอันดับที่ 1 ชาร์ตออริกอนเกือบทุกซิงเกิลจนถึงทุกวันน
เพลง "บอยส์แอนด์เกิร์ลส์" อายูมิจะร้องในคอนเสิร์ตของเธอบ่อยครั้ง ซึ่งเหมือนกับเพลง "Trauma" มักจะอยู่ในช่วงอังกอร์ในทุกๆคอนเสิร์ตของเธอ
รายชื่อเพลง
[แก้]- monochrome "Original Version"
- too late "Original Version"
- Trauma "Original Version"
- End roll "Original Version"
- monochrome "Keith Litman's Big City Vocal Mix"
- too late "Razor 'N Guido Remix"
- Trauma "Heavy Shuffle Mix"
- End roll "HΛL's Mix"
- monochrome "instrumental"
- too late "instrumental"
- Trauma "instrumental"
- End roll "instrumental"
- End roll "NEURO-mantic Mix"
- monochrome "Dub's full color Remix"
การแสดงสด
[แก้]- xx xx พ.ศ. 2542 – CDTV All Hits – "Boys & Girls"
- 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 – Music Station – "Boys & Girls"
- 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 – CDTV – "Boys & Girls'
- 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 – Hey! Hey! Hey! – "Boys & Girls"
- 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 – Utaban – "Boys & Girls"
- 24 กันยายน พ.ศ. 2542 – J-Pop Night – "Boys & Girls" และ "End roll" และ "too late" และ "Trauma"
- 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542 – All Japan Request Awards – "Boys & Girls"
- 3 ธันวาคม พ.ศ. 2542 – Japan Cable Awards – "Boys & Girls"
- 12 ธันวาคม พ.ศ. 2542 – Super Dream Live – "Boys & Girls" และ "appears"
- 22 ธันวาคม พ.ศ. 2542 – Fresh Live – "Boys & Girls"
- 24 ธันวาคม พ.ศ. 2542 – Music Station Christmas Special – "Boys & Girls" และ "appears"
- 25 ธันวาคม พ.ศ. 2542 – Pop Jam Christmas Special – "Boys & Girls"
- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2542 – Japan Record Awards – "Boys & Girls"
- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2542 – Kouhaku – "Boys & Girls"
- 31 ธันวาคม พ.ศ. 2542 – CDTV Special Live 1999-2000 – "Boys & Girls" และ "Immature" และ "appears"
- 31 สิงหาคม พ.ศ. 2543 – Avex Summer Paradise 2000 – "M" และ "Boys & Girls"
ชาร์ต
[แก้]- ชาร์ตออริกอน
วางจำหน่าย | ชาร์ต | อันดับสูงสุด | ยอดขายสัปดาห์แรก | ยอดขายรวม | อยู่ในชาร์ต |
---|---|---|---|---|---|
14 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 | Oricon Daily Singles Chart | #1 | |||
14 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 | Oricon Weekly Singles Chart | #1 | 262,000 | 1,038,000 | 16 สัปดาห์ |
14 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 | Oricon Yearly Singles Chart | #11 |
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- ข้อมูลของเอเว็กซ์ แทร็กซ์ เก็บถาวร 2008-12-01 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ข้อมูลของออริกอน เก็บถาวร 2012-07-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน