ข้ามไปเนื้อหา

สลัมด็อก มิลเลียนแนร์ คำตอบสุดท้าย...อยู่ที่หัวใจ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Slumdog Millionaire)
สลัมด็อก มิลเลียนแนร์ คำตอบสุดท้าย...อยู่ที่หัวใจ
โปสเตอร์ภาพยนตร์
กำกับแดนนี บอยล์
เลิฟลีน แทนแดน (ร่วมกำกับ)
บทภาพยนตร์ไซมอน โบฟอย
สร้างจากQ & A
โดย Vikas Swarup
อำนวยการสร้างคริสเตียน โคลสัน
นักแสดงนำ
กำกับภาพAnthony Dod Mantle
ตัดต่อคริส ดิกเกนส์
ดนตรีประกอบA. R. Rahman
บริษัทผู้สร้าง
ผู้จัดจำหน่ายPathé Distribution[iii]
วันฉาย
  • 30 สิงหาคม ค.ศ. 2008 (2008-08-30) (เทลลูไรด์)
  • 9 มกราคม ค.ศ. 2009 (2009-01-09) (สหราชอาณาจักร)
  • 5 มีนาคม ค.ศ. 2009 (2009-03-05) (ไทย)
ความยาว120 นาที[1]
ประเทศสหราชอาณาจักร[2][3][4]
ภาษาอังกฤษ
ทุนสร้าง15 ล้านดอลลาร์สหรัฐ[5]
ทำเงิน378.4 ล้านดอลลาร์สหรัฐ[5]

สลัมด็อก มิลเลียนแนร์ คำตอบสุดท้าย...อยู่ที่หัวใจ (อังกฤษ: Slumdog Millionaire) เป็นภาพยนตร์ดรามาสัญชาติอังกฤษใน ค.ศ. 2008 ที่ดัดแปลงมาจากวรรณกรรม Q & A (2005) โดย Vikas Swarup นักเขียนชาวอินเดีย ภาพยนตร์นี้เล่าเรื่อง Jamal Malik ชายวัย 18 ปีจากสลัม Juhu ในมุมไบ[6] เดฟ พาเทลเปิดตัวในภาพยนตร์ในบท Jamal และถ่ายทำภาพยนตร์ในประเทศอินเดีย กำกับโดยแดนนี บอยล์[7] เขียนบทโดยไซมอน โบฟอย และผลิตโดยคริสเตียน โคลสัน พร้อมเลิฟลีน แทนแดนที่มีเครดิตเป็นผู้ร่วมกำกับ[8] Jamal เป็นผู้เข้าแข่งขันในรายการ Kaun Banega Crorepati รายการฮูวอนส์ทูบีอะมิลเลียนแนร์? ฉบับภาษาฮินดี สร้างความประหลาดใจแก่ทุกคนด้วยการตอบคำถามทั้งหมดถูกต้อง โดยชนะเงินรางวัลถึง 2 กรอร์ (460,000 ดอลลาร์สหรัฐ) เขาเล่าเรื่องชีวิตให้แก่ตำรวจว่าตนสามารถตอบคำถามแต่ละข้อถูกอย่างไรหลังถูกกล่าวหาว่าโกงเกม

หลังฉายรอบเปิดตัวที่เทศกาลภาพยนตร์เทลลูไรด์ และภายหลังฉายที่เทศกาลภาพยนตร์นานาชาติโทรอนโตและเทศกาลภาพยนตร์ลอนดอน[9] จึงมีการฉาย สลัมด็อก มิลเลียนแนร์ คำตอบสุดท้าย...อยู่ที่หัวใจ ทั่วโลก โดยออกฉายในสหราชอาณาจักรเมื่อวันที่ 9 มกราคม ค.ศ. 2009 ในอินเดียเมื่อวันที่ 23 มกราคม ค.ศ. 2009[10] ภาพยนตร์นี้ได้รับการยกย่องอย่างกว้างขวาง โดยยกย่องในด้านเนื้อเรื่อง ซาวน์แทร็ก การถ่ายภาพยนตร์ การตัดต่อ การกำกับ และการแสดง (โดยเฉพาะพาเทล) ภาพยนตร์ได้เข้าชิงรางวัลออสการ์ประจำปี 2009 10 รางวัล และชนะ 8 รางวัล ซึ่งถือว่ามากที่สุดสำหรับภาพยนตร์ใน ค.ศ. 2008 และยังชนะ รางวัลแบฟตา 7 รางวัล รางวัลคริติกส์ชอยส์ 5 รางวัล และโกลเดนโกลบส์ 4 รางวัล อย่างไรก็ตาม คำตอบรับในประเทศอินเดียและชนพลัดถิ่นชาวอินเดียนั้นผสมกัน และตัวภาพยนตร์ตกอยู่ในประเด็นถกเกียงจากการแสดงภาพความยากจนในประเทศอินเดียและปัญหาอื่น ๆ โดยทางฮินดูสถานไทมส์กล่าวถึงภาพยนตร์นี้เป็น "การโจมตีความภาคภูมิใจในตนเองของอินเดีย"[11]

เนื้อเรื่อง

[แก้]

รางวัลที่ได้รับ

[แก้]

หมายเหตุ

[แก้]
  • iii Fox Searchlight Pictures distributed Slumdog Millionaire theatrically in the United States under a shared distribution agreement with Warner Bros. Pictures;[12] Pathé themselves distributed the film in its native United Kingdom, the studio's native France and through their own distribution division in Switzerland named Monopole-Pathé[13] while other independent distributors released the film in other territories.

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Slumdog Millionaire (15)". British Board of Film Classification. 7 May 2017. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 September 2017. สืบค้นเมื่อ 7 May 2017.
  2. "Slumdog Millionaire (2008)". Screen Daily. 6 September 2008. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 May 2014. สืบค้นเมื่อ 30 May 2014.
  3. "Slumdog Millionaire (2008)". British Film Institute. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 May 2014. สืบค้นเมื่อ 2 May 2014.
  4. Bradshaw, Peter (9 January 2009). "Slumdog Millionaire". The Guardian. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 January 2017. สืบค้นเมื่อ 13 December 2016.
  5. 5.0 5.1 "Slumdog Millionaire". Box Office Mojo. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 31 October 2019. สืบค้นเมื่อ 12 October 2009.
  6. Sengupta, Somini (11 November 2008). "Extreme Mumbai, Without Bollywood's Filtered Lens". The New York Times. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 April 2017. สืบค้นเมื่อ 25 February 2017.
  7. Robinson, Tasha (26 November 2008). "Danny Boyle interview". The A.V. Club. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 December 2008. สืบค้นเมื่อ 24 May 2009.
  8. "Oscar nominations 2009: Indian director 'overlooked' for Slumdog Millionaire awards". The Daily Telegraph. 23 January 2009. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 December 2018. สืบค้นเมื่อ 13 December 2018.
  9. Gritten, David (31 October 2008). "Slumdog Millionaire at the London Film Festival – review". The Daily Telegraph. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 April 2014. สืบค้นเมื่อ 17 January 2012.
  10. Jamkhandikar, Shilpa (23 January 2009). ""Slumdog" premieres in India amid Oscar fanfare". Reuters. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 February 2009. สืบค้นเมื่อ 24 May 2009.
  11. "Slumdog Millionaire is an assault on Indian self-esteem". Hindustan Times. 23 March 2009. สืบค้นเมื่อ 10 January 2023.
  12. Flaherty, Mike (20 August 2008). "Fox, WB to share 'Slumdog' distribution". Variety. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 August 2008. สืบค้นเมื่อ 12 November 2008.
  13. "Film: Slumdog Millionaire (2008) - movies.ch - cinéma, film & DVD en Suisse".

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]