ไตรไนโตรโทลูอีน
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
| |||
ชื่อ | |||
---|---|---|---|
Preferred IUPAC name
2-Methyl-1,3,5-trinitrobenzene | |||
ชื่ออื่น
| |||
เลขทะเบียน | |||
3D model (JSmol)
|
|||
ตัวย่อ | TNT | ||
ChEMBL | |||
เคมสไปเดอร์ | |||
ดรักแบงก์ | |||
ECHA InfoCard | 100.003.900 | ||
EC Number |
| ||
KEGG | |||
ผับเคม CID
|
|||
RTECS number |
| ||
UNII | |||
UN number | 0209 – Dry or wetted with < 30% water 0388, 0389 – Mixtures with trinitrobenzene, hexanitrostilbene | ||
CompTox Dashboard (EPA)
|
|||
| |||
| |||
คุณสมบัติ | |||
C7H5N3O6 | |||
มวลโมเลกุล | 227.132 g·mol−1 | ||
ลักษณะทางกายภาพ | Pale yellow solid. Loose "needles", flakes or prills before melt-casting. A solid block after being poured into a casing. | ||
ความหนาแน่น | 1.654 g/cm3 | ||
จุดหลอมเหลว | 80.35 องศาเซลเซียส (176.63 องศาฟาเรนไฮต์; 353.50 เคลวิน) | ||
จุดเดือด | 240.0 องศาเซลเซียส (464.0 องศาฟาเรนไฮต์; 513.1 เคลวิน) (decomposes)[1] | ||
0.13 g/L (20 °C) | |||
ความสามารถละลายได้ ใน อีเทอร์, แอซีโทน, เบนซีน, ไพริดีน | ละลายน้ำได้ | ||
ความดันไอ | 0.0002 mmHg (20°C)[2] | ||
ข้อมูลระเบิด | |||
ความไวต่อแรงกระแทก | Insensitive | ||
ความไวต่อแรงเสียดทาน | Insensitive to 353 N | ||
ความเร็วการระเบิด | 6900 m/s | ||
RE factor | 1.00 | ||
ความอันตราย | |||
GHS labelling: | |||
อันตราย | |||
H201, H301, H311, H331, H373, H411 | |||
P210, P273, P309+P311, P370+P380, P373, P501 | |||
NFPA 704 (fire diamond) | |||
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC): | |||
LD50 (median dose)
|
795 mg/kg (rat, oral) 660 mg/kg (mouse, oral)[3] | ||
LDLo (lowest published)
|
500 mg/kg (rabbit, oral) 1850 mg/kg (cat, oral)[3] | ||
NIOSH (US health exposure limits): | |||
PEL (Permissible)
|
TWA 1.5 mg/m3 [skin][2] | ||
REL (Recommended)
|
TWA 0.5 mg/m3 [skin][2] | ||
IDLH (Immediate danger)
|
500 mg/m3[2] | ||
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (SDS) | ICSC 0967 | ||
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน | |||
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง
|
picric acid hexanitrobenzene 2,4-Dinitrotoluene | ||
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
ทีเอ็นที (อังกฤษ: TNT; ย่อจาก "ไตรไนโตรโทลูอีน" (Trinitrotoluene)) มีสารเคมีซึ่งมีสูตรคือ C6H2(NO2)3CH3 เป็นของแข็งสีเหลืองซึ่งบ้างใช้เป็นตัวเร่งในการสังเคราะห์เคมี แต่รู้จักกันดีที่สุดว่าเป็นวัตถุระเบิดที่มีประโยชน์โดยมีคุณสมบัติจัดการได้สะดวก
สารเคมีดังกล่าวนี้ มีการสังเคราะห์ขึ้นเป็นครั้งแรก โดยโจเซฟ วิลแบรนด์ (Joseph Wilbrand) เมื่อ ค.ศ. 1863 และการผลิตปริมาณมากครั้งแรก เกิดขึ้นในเยอรมนี เมื่อ ค.ศ. 1891
ด้วยการใช้งานอย่างกว้างขวาง ทำให้ทีเอ็นทีเป็นเกณฑ์มาตรฐานในการวัดความเข้มของระเบิด และวัตถุระเบิดอื่นๆ โดยเทียบประสิทธิภาพกับทีเอ็นที เรียกว่า "TNT equivalent"
คุณสมบัติ
[แก้]trinitrotoluene มีลักษณะเป็นผลึกสีเหลือง เรียวคล้ายเข็ม ละลายในน้ำได้น้อยแต่จะละลายได้ดีในตัวทำละลายอินทรีย์ เช่น ether,acetone,benzene และ pyridine เนื่องจากมีจุดหลอมเหลวต่ำกว่า 80.35 °C ดังนั้นจึงสามารถหลอมละลาย TNT โดยใช้ความร้อนจากไอน้ำ TNT มีความเป็นพิษต่อร่างกายมนุษย์เมื่อถูกผิวหนังจะทำให้เกิดการแพ้ได้
*ความสามารถในการละลายน้ำ: 130 มก/ลิตร ที่อุณหภูมิ 20 °C และเมื่อนำสารละลายนี้ไปต้ม จะเกิดการระเบิดอย่างรุนแรง *แรงดันไอน้ำที่ 20 °C: 1.5-6 mbar
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 2,4,6-Trinitrotoluene. inchem.org[ลิงก์เสีย]
- ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards. "#0641". National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).
- ↑ 3.0 3.1 "2,4,6-Trinitrotoluene". Immediately Dangerous to Life and Health Concentrations (IDLH). National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- Dynamite and TNT at The Periodic Table of Videos (University of Nottingham)
- "TNT" on YouTube showing the shockwave and typical black smoke cloud from detonation of 160 kilograms of pure TNT
- CDC – NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards
- บทความที่มีลิงก์เสียตั้งแต่April 2021
- Multiple chemicals in an infobox that need indexing
- Articles with changed EBI identifier
- Articles with changed ChemSpider identifier
- Articles with changed KEGG identifier
- Articles with changed InChI identifier
- Chembox having GHS data
- สารประกอบไนโตร
- สารประกอบอะโรมาติก
- วัตถุระเบิด
- บทความเกี่ยวกับ เคมี ที่ยังไม่สมบูรณ์