ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สารภี (พรรณไม้)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พ.น.บุญรอด (คุย | ส่วนร่วม)
BillArthur1 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
 
(ไม่แสดง 28 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 19 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น|||สารภี}}
{{รอการตรวจสอบ}}
{{Speciesbox
{{ขาดตารางจำแนก}}
|image=Gardenology.org-IMG 8055 qsbg11mar.jpg
{{ตารางจำแนกพันธุ์
|status=
| name = สารภี
|status_ref=
| image =
|genus=Mammea
| image_caption =
|species=siamensis
| regnum =[[พืช]] ([[Plantae]])
|authority=[[T. Anders.]]<ref>Anderson T (1867) In: ''Journ. L. Soc.'' '''9''': 261</ref>
| divisio =
|range_map=
| classis =
|range_map_caption=
| ordo =
|synonyms=''Ochrocarpos siamensis'' <small>([[Friedrich Anton Wilhelm Miquel|Miq.]]) T. Anders.</small><br>''Mammea birmannica'' <small>T. Anders.</small><br>''Calysaccion siamense'' <small>[[Friedrich Anton Wilhelm Miquel|Miq.]]</small>
| familia = GUTTIFERAE
| genus =
| species =
| binomial = Mammea siamensis
| binomial_authority = T. Anders.
}}
}}
'''สารภี''' เป็น[[ไม้ดอก]]ยืนต้นพบใน[[ประเทศไทย]] [[ลาว]] [[เวียดนาม]]และ[[กัมพูชา]] เป็นพันธุ์ไม้พระราชทานเพื่อปลูกเป็นมงคลจังหวัด[[พะเยา]] สารภียังมีชื่อพื้นเมืองอื่นอีกดังนี้ : ทรพี ([[จันทบุรี]]) สร้อยพี (ใต้)<ref>[http://www.tistr.or.th/pharma/Mammea%20siamensis.htm Mammea siamensis] {{webarchive|url=https://web.archive.org/web/20090414210304/http://www.tistr.or.th/pharma/Mammea%20siamensis.htm |date=2009-04-14 }} {{in lang|th}}</ref> สาหละปี ([[เชียงใหม่]], เหนือ)<ref name="สำนักงานหอพรรณไม้">[http://www.dnp.go.th/botany/ThaiPlantName/ สำนักงานหอพรรณไม้. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย เต็ม สมิตินันทน์ -- กรุงเทพมหานคร : กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, พ.ศ. 2549]</ref>
'''สารภี''' พันธุ์ไม้พระราชทานเพื่อปลูกเป็นมงคลจังหวัดพะเยา


== ลักษณะทั่วไป ==
== ลักษณะทางพฤกษศาสตร์==
เป็นไม้ยืนต้นสูง 10 – 15 เมตร ไม่ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มทึบ ใบเป็นใบเดี่ยวเรียงตรงข้าม รูปไข่กลับแกมขอบขนาน เส้นแขนงใบไม่ชัดเจน แต่เส้นใบย่อยแบบร่างแหเห็นชัดทั้งสองข้าง เนื้อไม้มีสีน้ำตาลแกมแดง ใบสีเขียว หนา แข็งเป็นมัน มียางขาว เปลือกสีเทาดำ แตกล่อนเป็นสะเก็ดตลอดลำต้น ดอกสีขาวอมเหลือง ออกดอกเป็นกระจุกตามกิ่ง สีขาว กลิ่นหอม ร่วงง่าย มีเกสรเพศผู้สีเหลือง ผลรูปกระสวย ยาวประมาณ 2.5 เซนติเมตร เมื่อสุกสีเหลือง มีเนื้อสีเหลืองหรือสีแสดหุ้มเมล็ด รับประทานได้ ออกดอก มกราคม - มีนาคม เป็นผล กุมภาพันธ์ - เมษายน
เป็นไม้ยืนต้นสูง 10 – 15 เมตร ไม่ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มทึบ มียางสีขาว
*'''ใบ'''เป็นใบเดี่ยวเรียงตรงข้าม รูปไข่กลับแกมขอบขนาน เส้นแขนงใบไม่ชัดเจน แต่เส้นใบย่อยแบบร่างแหเห็นชัดทั้งสองข้าง
*'''เนื้อไม้'''มีสีน้ำตาลแกมแดง ใบสีเขียว หนา แข็งเป็นมัน มียางขาว
*'''เปลือก''' สีเทาดำ แตกล่อนเป็นสะเก็ดตลอดลำต้น เรือนยอดเป็น พุ่มทึบ
*'''ดอก'''สีขาวอมเหลือง ออกดอกเป็นกระจุกตามกิ่ง สีขาว กลิ่นหอม ร่วงง่าย มีเกสรเพศผู้สีเหลือง ออกดอก มกราคม - มีนาคม เป็นผล กุมภาพันธ์ - เมษายน
*'''ผล'''รูปกระสวย ยาวประมาณ 2.5 เซนติเมตร เมื่อสุกสีเหลือง มีเนื้อสีเหลืองหรือสีแสดหุ้มเมล็ด รับประทานได้


== ถิ่นกำเนิด ==
*ขยายพันธุ์ โดยการเพาะเมล็ด
[[ป่าเบญจพรรณ]] [[ป่าดงดิบ]] ในเขต[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]]
*สภาพที่เหมาะสม สภาพดินร่วนซุย ความชื้นพอเหมาะ

*ถิ่นกำเนิด ป่าเบญจพรรณ ป่าดงดิบ ในประเทศไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย พม่า เวียดนาม
== การปลูกเลี้ยง ==
สารภีชอบสภาพดินร่วนซุย ความชื้นพอเหมาะ ขยายพันธุ์ โดยการเพาะเมล็ด


== สรรพคุณทางยา ==
== สรรพคุณทางยา ==
* ดอกสดและแห้ง-ใช้เข้ายาหอม บำรุงหัวใจ บำรุงเส้นประสาท แก้วิงเวียนหน้ามืด ตาลายและชูกำลัง
* ดอกตูม-ย้อมผ้าไหมให้สีแดง
*ดอกสดและแห้ง-ใช้เข้ายาหอม บำรุงหัวใจ บำรุงเส้นประสาท แก้วิงเวียนหน้ามืด ตาลายและชูกำลัง
* ผลสุก-รับประทานได้มีรสหวาน
*ดอกตูม-ย้อมผ้าไหมให้สีแดง

*ผลสุก-รับประทานได้มีรสหวาน
== ดูเพิ่ม ==
{{อุทยานดอกไม้}}
* [[รายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด]]

==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}

==แหล่งข้อมูลอื่น==
*[http://www2.psu.ac.th/PresidentOffice/EduService/Journal/Thai-Herbs-pdf/12-terpenoid-steroids.pdf A terpenoid and two steroids from the flowers of Mammea siamensis]{{dead link|date=มกราคม 2018 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}
*[https://archive.today/20121216003226/http://article.pubs.nrc-cnrc.gc.ca/RPAS/RPViewDoc?_handler_=HandleInitialGet&articleFile=v06-157.pdf&journal=cjc&volume=84 Phenolic compounds from Mammea siamensis seeds]

{{ทิศ}}
{{ทิศ}}
{{ต้นไม้พระราชทาน}}
{{ดอกไม้ประจำจังหวัด}}
{{อุทยานดอกไม้}}
{{Taxonbar|from=Q6639920}}

[[หมวดหมู่:ไม้ยืนต้น]]
[[หมวดหมู่:ไม้ยืนต้น]]
[[หมวดหมู่:ต้นไม้ประจำจังหวัด]]
[[หมวดหมู่:ต้นไม้ประจำจังหวัดของไทย]]
[[หมวดหมู่:ดอกไม้ประจำจังหวัดของไทย]]
{{โครงพืช}}
[[หมวดหมู่:ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย]]
[[หมวดหมู่:วงศ์มังคุด]]
[[หมวดหมู่:พืชให้สีย้อม]]
[[หมวดหมู่:สมุนไพร]]
[[หมวดหมู่:พืชที่รับประทานได้]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 11:23, 3 ธันวาคม 2566

สารภี
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ แก้ไขการจำแนกนี้
อาณาจักร: พืช
Plantae
เคลด: พืชมีท่อลำเลียง
Tracheophytes
เคลด: พืชดอก
Angiosperms
เคลด: พืชใบเลี้ยงคู่แท้
Eudicots
เคลด: โรสิด
Rosids
อันดับ: อันดับโนรา
Malpighiales
วงศ์: Calophyllaceae
Calophyllaceae
สกุล: Mammea
Mammea
T. Anders.[1]
สปีชีส์: Mammea siamensis
ชื่อทวินาม
Mammea siamensis
T. Anders.[1]
ชื่อพ้อง

Ochrocarpos siamensis (Miq.) T. Anders.
Mammea birmannica T. Anders.
Calysaccion siamense Miq.

สารภี เป็นไม้ดอกยืนต้นพบในประเทศไทย ลาว เวียดนามและกัมพูชา เป็นพันธุ์ไม้พระราชทานเพื่อปลูกเป็นมงคลจังหวัดพะเยา สารภียังมีชื่อพื้นเมืองอื่นอีกดังนี้ : ทรพี (จันทบุรี) สร้อยพี (ใต้)[2] สาหละปี (เชียงใหม่, เหนือ)[3]

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

[แก้]

เป็นไม้ยืนต้นสูง 10 – 15 เมตร ไม่ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มทึบ ใบเป็นใบเดี่ยวเรียงตรงข้าม รูปไข่กลับแกมขอบขนาน เส้นแขนงใบไม่ชัดเจน แต่เส้นใบย่อยแบบร่างแหเห็นชัดทั้งสองข้าง เนื้อไม้มีสีน้ำตาลแกมแดง ใบสีเขียว หนา แข็งเป็นมัน มียางขาว เปลือกสีเทาดำ แตกล่อนเป็นสะเก็ดตลอดลำต้น ดอกสีขาวอมเหลือง ออกดอกเป็นกระจุกตามกิ่ง สีขาว กลิ่นหอม ร่วงง่าย มีเกสรเพศผู้สีเหลือง ผลรูปกระสวย ยาวประมาณ 2.5 เซนติเมตร เมื่อสุกสีเหลือง มีเนื้อสีเหลืองหรือสีแสดหุ้มเมล็ด รับประทานได้ ออกดอก มกราคม - มีนาคม เป็นผล กุมภาพันธ์ - เมษายน

ถิ่นกำเนิด

[แก้]

ป่าเบญจพรรณ ป่าดงดิบ ในเขตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

การปลูกเลี้ยง

[แก้]

สารภีชอบสภาพดินร่วนซุย ความชื้นพอเหมาะ ขยายพันธุ์ โดยการเพาะเมล็ด

สรรพคุณทางยา

[แก้]
  • ดอกสดและแห้ง-ใช้เข้ายาหอม บำรุงหัวใจ บำรุงเส้นประสาท แก้วิงเวียนหน้ามืด ตาลายและชูกำลัง
  • ดอกตูม-ย้อมผ้าไหมให้สีแดง
  • ผลสุก-รับประทานได้มีรสหวาน

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]