ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไทยใต้"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
'''ชาวไทยใต้'''<ref name="กาญจนาภิเษก">{{cite book | author = ดาริกา ธนะศักดิ์ศิริ | title = รักษ์วัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์ | url = https://www.finearts.go.th/storage/contents/file/Tp8BygjTyuX8vDxnOJtKrAAU3R5GRj9DAqt81jAW.pdf | publisher = พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก | location = ปทุมธานี | year = 2555 | page = 12}}</ref> เอกสารเก่าเรียก '''ชาวนอก'''<ref name="จดหมาย">อุดมสมบัติ (จัน), หลวง. ''จดหมายหลวงอุดมสมบัติ''. พระนคร : ศิวพร. 2505, หน้า 136</ref><ref name="สุจิตต์">{{cite web |url= https://www.matichon.co.th/columnists/news_1079341 |title= ชาวนอกอยู่ภาคใต้ คนเมืองในอยู่ภาคกลาง |author= สุจิตต์ วงษ์เทศ |date= 9 สิงหาคม 2561 |work= มติชนออนไลน์ |publisher=|accessdate= 14 มกราคม 2567 }}</ref><ref name="โขน">{{cite web |url= https://www.silpa-mag.com/history/article_12725 |title= เจาะลึกโขนละคร วังพระเจ้านครศรีธรรมราช จากกรุงธนบุรีถึงรัตนโกสินทร์ |author= วันพระ สืบสกุลจินดา |date= 23 เมษายน 2566 |work= ศิลปวัฒนธรรม |publisher=|accessdate= 14 มกราคม 2567 }}</ref> ส่วนชาวมลายูเรียกว่า '''ชาวสยาม''' (''เซียม'' ใน[[ภาษามลายู]] และ ''ซีแย'' ใน[[ภาษามลายูปัตตานี]]){{Efn-t|group=2|ในภาษามลายูปัตตานี คำว่า ''ซีแย'' ({{lang|ms|سيٍّي}}) แปลว่า "คนสยาม" หรือ "ไทยพุทธ"<ref>{{cite book | author = นูรียัน สาแล๊ะ | title = ลักษณะ "ความเป็นมลายู" ที่ปรากฏในเรื่องสั้นไทยฝีมือชาวใต้ | url = http://kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/700/1/article5.pdf | publisher = วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ 1(1) | location = | year = เมษายน–กันยายน 2549 | page = 121–123}}</ref><ref>{{cite book | author = เกรียงไกร เกิดศิริ, ดร. และคณะ | title = "ความเป็นมลายู" ความหมายที่สัมพัทธ์กับประวัติศาสตร์ ชาติพันธุ์ ศาสนา รัฐ และความรู้สึก | url = https://peaceresourcecollaborative.org/wp-content/uploads/2019/10/C_History_002_edit.pdf | publisher = ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม ศิลปสถาปัตยกรรม และสถาปัตยกรรมไทย | location = | year = 2560 | page = 32–33}}</ref>}} เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ขนาดใหญ่ทางตอนเหนือของ[[คาบสมุทรมลายู]] พบได้ทั่วทุกจังหวัดใน[[ภาคใต้]]ของ[[ประเทศไทย]] แบ่งออกเป็นสองกลุ่มใหญ่ คือ ชาวไทยใต้ตะวันออก ได้แก่ [[จังหวัดนครศรีธรรมราช]] [[จังหวัดพัทลุง]] [[จังหวัดสงขลา]] [[จังหวัดสตูล]] และบางอำเภอใน[[จังหวัดปัตตานี]] และชาวไทยใต้ตะวันตก ได้แก่ [[จังหวัดกระบี่]] [[จังหวัดพังงา]] [[จังหวัดภูเก็ต]] [[จังหวัดสุราษฎร์ธานี]] [[จังหวัดระนอง]] และ[[จังหวัดชุมพร]]<ref name="กาญจนาภิเษก" /> ทั้งยังพบชุมชนชาวไทยใต้ในบางพื้นที่ของ[[จังหวัดประจวบคีรีขันธ์]]<ref>{{cite web |url= http://www.thaistudies.chula.ac.th/2018/10/17/ภาษาไทยถิ่นใต้-ความหลาก/ |title= ภาษาไทยถิ่นใต้: ความหลากหลายและประสานกลมกลืน |author= ฉันทัส ทองช่วย, ดร. |date= 17 ตุลาคม 2561 |work= สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |publisher=|accessdate= 14 มกราคม 2567 }}</ref> ทางตอนใต้ของ[[ภาคตะนาวศรี]] [[ประเทศพม่า]]<ref>{{cite web |url= https://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5377 |title= การสร้างอัตลักษณ์ความเป็นไทยของคนไทยพลัดถิ่นบ้านสิงขร มณฑลตะนาวศรี สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา |author= วรพจน์ วิเศษศิริ และคณะ |date= 2565 |work= มหาวิทยาลัยนเรศวร |publisher=|accessdate= 14 มกราคม 2567 }}</ref> และทางภาคเหนือของ[[รัฐปะลิส]] [[รัฐเกอดะฮ์]] [[รัฐเปรัก]] และ[[รัฐปีนัง]] [[ประเทศมาเลเซีย]] ชาวไทยใต้ส่วนใหญ่นับถือ[[ศาสนาพุทธ]] และยึดอาชีพทำไร่ ทำสวน และประมงเป็นหลัก<ref name="กาญจนาภิเษก" />
'''ชาวไทยใต้'''<ref name="กาญจนาภิเษก">{{cite book | author = ดาริกา ธนะศักดิ์ศิริ | title = รักษ์วัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์ | url = https://www.finearts.go.th/storage/contents/file/Tp8BygjTyuX8vDxnOJtKrAAU3R5GRj9DAqt81jAW.pdf | publisher = พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก | location = ปทุมธานี | year = 2555 | page = 12}}</ref> เอกสารเก่าเรียก '''ชาวนอก'''<ref name="จดหมาย">อุดมสมบัติ (จัน), หลวง. ''จดหมายหลวงอุดมสมบัติ''. พระนคร : ศิวพร. 2505, หน้า 136</ref><ref name="สุจิตต์">{{cite web |url= https://www.matichon.co.th/columnists/news_1079341 |title= ชาวนอกอยู่ภาคใต้ คนเมืองในอยู่ภาคกลาง |author= สุจิตต์ วงษ์เทศ |date= 9 สิงหาคม 2561 |work= มติชนออนไลน์ |publisher=|accessdate= 14 มกราคม 2567 }}</ref><ref name="โขน">{{cite web |url= https://www.silpa-mag.com/history/article_12725 |title= เจาะลึกโขนละคร วังพระเจ้านครศรีธรรมราช จากกรุงธนบุรีถึงรัตนโกสินทร์ |author= วันพระ สืบสกุลจินดา |date= 23 เมษายน 2566 |work= ศิลปวัฒนธรรม |publisher=|accessdate= 14 มกราคม 2567 }}</ref> ส่วนชาวมลายูเรียกว่า '''ชาวสยาม''' (''เซียม'' ใน[[ภาษามลายู]] และ ''ซีแย'' ใน[[ภาษามลายูปัตตานี]]){{Efn-t|group=2|ในภาษามลายูปัตตานี คำว่า ''ซีแย'' ({{lang|ms|سيٍّي}}) แปลว่า "คนสยาม" หรือ "ไทยพุทธ"<ref>{{cite book | author = นูรียัน สาแล๊ะ | title = ลักษณะ "ความเป็นมลายู" ที่ปรากฏในเรื่องสั้นไทยฝีมือชาวใต้ | url = http://kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/700/1/article5.pdf | publisher = วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ 1(1) | location = | year = เมษายน–กันยายน 2549 | page = 121–123}}</ref><ref>{{cite book | author = เกรียงไกร เกิดศิริ, ดร. และคณะ | title = "ความเป็นมลายู" ความหมายที่สัมพัทธ์กับประวัติศาสตร์ ชาติพันธุ์ ศาสนา รัฐ และความรู้สึก | url = https://peaceresourcecollaborative.org/wp-content/uploads/2019/10/C_History_002_edit.pdf | publisher = ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม ศิลปสถาปัตยกรรม และสถาปัตยกรรมไทย | location = | year = 2560 | page = 32–33}}</ref>}} เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ขนาดใหญ่ทางตอนเหนือของ[[คาบสมุทรมลายู]] พบได้ทั่วทุกจังหวัดใน[[ภาคใต้]]ของ[[ประเทศไทย]] แบ่งออกเป็นสองกลุ่มใหญ่ คือ ชาวไทยใต้ตะวันออก ได้แก่ [[จังหวัดนครศรีธรรมราช]] [[จังหวัดพัทลุง]] [[จังหวัดสงขลา]] [[จังหวัดสตูล]] และบางอำเภอใน[[จังหวัดปัตตานี]] และชาวไทยใต้ตะวันตก ได้แก่ [[จังหวัดกระบี่]] [[จังหวัดพังงา]] [[จังหวัดภูเก็ต]] [[จังหวัดสุราษฎร์ธานี]] [[จังหวัดระนอง]] และ[[จังหวัดชุมพร]]<ref name="กาญจนาภิเษก" /> ทั้งยังพบชุมชนชาวไทยใต้ในบางพื้นที่ของ[[จังหวัดประจวบคีรีขันธ์]]<ref>{{cite web |url= http://www.thaistudies.chula.ac.th/2018/10/17/ภาษาไทยถิ่นใต้-ความหลาก/ |title= ภาษาไทยถิ่นใต้: ความหลากหลายและประสานกลมกลืน |author= ฉันทัส ทองช่วย, ดร. |date= 17 ตุลาคม 2561 |work= สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |publisher=|accessdate= 14 มกราคม 2567 }}</ref> ทางตอนใต้ของ[[ภาคตะนาวศรี]] [[ประเทศพม่า]]<ref>{{cite web |url= https://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5377 |title= การสร้างอัตลักษณ์ความเป็นไทยของคนไทยพลัดถิ่นบ้านสิงขร มณฑลตะนาวศรี สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา |author= วรพจน์ วิเศษศิริ และคณะ |date= 2565 |work= มหาวิทยาลัยนเรศวร |publisher=|accessdate= 14 มกราคม 2567 }}</ref> และทางภาคเหนือของ[[รัฐปะลิส]] [[รัฐเกอดะฮ์]] [[รัฐเปรัก]] และ[[รัฐปีนัง]] [[ประเทศมาเลเซีย]] ชาวไทยใต้ส่วนใหญ่นับถือ[[ศาสนาพุทธ]] และยึดอาชีพทำไร่ ทำสวน และประมงเป็นหลัก<ref name="กาญจนาภิเษก" />


ชาวไทยใต้มีวัฒนธรรมที่ผสมผสานกับหลายชนชาติ เช่น [[ชาวมลายู|มลายู]] [[จีนโพ้นทะเล|จีน]] [[ชาวอินเดีย|อินเดีย]] [[ชาวอาหรับ|อาหรับ]] [[ชาวเขมร|เขมร]] และชนพื้นเมืองอื่น ๆ ในภาคสมุทรมลายู<ref name="กาญจนาภิเษก" /><ref name="สุจิตต์" /> ทำให้มีวัฒนธรรมที่โดดเด่น คือ [[ภาษาไทยถิ่นใต้]] ที่มีสำเนียงและคำศัพท์บางคำเป็นของตนเอง แตกต่างไปจากภาษาไทยถิ่นกลาง นอกจากภาษาแล้ว ยังมีขนบธรรมเนียมประเพณีเฉพาะตน เช่น [[ประเพณีสารทเดือนสิบ]] ประเพณี[[ห่มผ้าขึ้นธาตุ]] และประเพณี[[ชักพระ]]<ref name="กาญจนาภิเษก" /> ด้านอาหารโดดเด่นด้านความเผ็ดร้อน เช่น [[แกงเหลือง]] [[แกงไตปลา]] [[บูดู|น้ำบูดู]] [[ข้าวยำ]] [[คั่วกลิ้ง]] และ[[ผักเหนาะ]]<ref name="กาญจนาภิเษก" /> และยังมีศิลปะการแสดงที่มีชื่อเสียง เช่น [[มโนราห์ (รำ)|มโนราห์]] [[ละครชาตรี]] [[ละครนอก]] และ[[โขน]]ละครวังพระเจ้านครศรีธรรมราช ซึ่งล้วนแต่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว<ref name="โขน" /><ref>{{cite web |url= https://www.silpa-mag.com/history/article_79048#google_vignette |title= โนราภาคใต้ ไปจากภาคกลาง สมัยอยุธยา |author= สุจิตต์ วงษ์เทศ |date= 5 มกราคม 2566 |work= ศิลปวัฒนธรรม |publisher=|accessdate= 14 มกราคม 2567 }}</ref> ด้วยเหตุนี้ชาวไทยใต้จึงถูกเรียกว่า ''ชาวนอก'' มาตั้งแต่ยุค[[อาณาจักรอยุธยา]]เป็นต้นมา ด้วยมองว่าเป็นคนต่างชาติต่างภาษากับกลุ่มไทยสยาม<ref name="สุจิตต์" /><ref name="โขน" /> ต่อมา[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] มีพระราชวินิจฉัยถึงเรื่องนี้ว่า "...เมืองนครศรีธรรมราชซึ่งยังไม่ได้สาบสูญ คงเป็นบ้านเมืองอยู่บัดนี้ และเป็นชาติไทยแท้ ยังหลงไปว่าเป็นชาวนครชาวนอก นับเข้าใน 12 ภาษาได้..."<ref name="สุจิตต์" />
จากการศึกษาของรองศาสตราจารย์ ดร. วิภู กุตะนันท์ พบว่า [[ดีเอ็นเอ]]ของชาวไทยสยามในภาคกลางกับชาวไทยใต้ คล้ายกับดีเอ็นเอของ[[ชาวมอญ]] อีกทั้งชาวไทยสยามและชาวไทยใต้บางส่วนยังมีดีเอ็นเอตรงกับ[[ทราวิฑ|ชาวอินเดียตอนใต้]] อันแสดงถึงการผสมผสานทางพันธุกรรมซึ่งเกิดขึ้นเมื่อราว 600-700 ปีก่อน ซึ่งตรงกับยุค[[อาณาจักรอยุธยา]]<ref>{{cite web |url= https://themomentum.co/theframe-wibhu-kutanan/ |title= วิภู กุตะนันท์ พบคำตอบ ‘คนไทยมาจากไหน’ บนเกลียวดีเอ็นเอ |author=|date= 29 ธันวาคม 2564 |work= The Momentum |publisher=|accessdate= 14 มกราคม 2567 }}</ref> ด้วยเหตุนี้ชาวไทยใต้จึงมีวัฒนธรรมที่ผสมผสานกับหลายชนชาติ เช่น [[ชาวมลายู|มลายู]] [[จีนโพ้นทะเล|จีน]] [[ชาวอินเดีย|อินเดีย]] [[ชาวอาหรับ|อาหรับ]] [[ชาวเขมร|เขมร]] และชนพื้นเมืองอื่น ๆ ในภาคสมุทรมลายู<ref name="กาญจนาภิเษก" /><ref name="สุจิตต์" /> มีวัฒนธรรมที่โดดเด่น คือ [[ภาษาไทยถิ่นใต้]] ที่มีสำเนียงและคำศัพท์บางคำเป็นของตนเอง แตกต่างไปจากภาษาไทยถิ่นกลาง นอกจากภาษาแล้ว ยังมีขนบธรรมเนียมประเพณีเฉพาะตน เช่น [[ประเพณีสารทเดือนสิบ]] ประเพณี[[ห่มผ้าขึ้นธาตุ]] และประเพณี[[ชักพระ]]<ref name="กาญจนาภิเษก" /> ด้านอาหารโดดเด่นด้านความเผ็ดร้อน เช่น [[แกงเหลือง]] [[แกงไตปลา]] [[บูดู|น้ำบูดู]] [[ข้าวยำ]] [[คั่วกลิ้ง]] และ[[ผักเหนาะ]]<ref name="กาญจนาภิเษก" /> และยังมีศิลปะการแสดงที่มีชื่อเสียง เช่น [[มโนราห์ (รำ)|มโนราห์]] [[ละครชาตรี]] [[ละครนอก]] และ[[โขน]]ละครวังพระเจ้านครศรีธรรมราช ซึ่งล้วนแต่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว<ref name="โขน" /><ref>{{cite web |url= https://www.silpa-mag.com/history/article_79048#google_vignette |title= โนราภาคใต้ ไปจากภาคกลาง สมัยอยุธยา |author= สุจิตต์ วงษ์เทศ |date= 5 มกราคม 2566 |work= ศิลปวัฒนธรรม |publisher=|accessdate= 14 มกราคม 2567 }}</ref> ด้วยเหตุนี้ชาวไทยใต้จึงถูกเรียกว่า ''ชาวนอก'' มาตั้งแต่ยุค[[อาณาจักรอยุธยา]]เป็นต้นมา ด้วยมองว่าเป็นคนต่างชาติต่างภาษากับกลุ่มไทยสยาม<ref name="สุจิตต์" /><ref name="โขน" /> ต่อมา[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] มีพระราชวินิจฉัยถึงเรื่องนี้ว่า "...เมืองนครศรีธรรมราชซึ่งยังไม่ได้สาบสูญ คงเป็นบ้านเมืองอยู่บัดนี้ และเป็นชาติไทยแท้ ยังหลงไปว่าเป็นชาวนครชาวนอก นับเข้าใน 12 ภาษาได้..."<ref name="สุจิตต์" />


== เชิงอรรถ ==
== เชิงอรรถ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:02, 14 มกราคม 2567

ไทยใต้
คนใต้
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ
ไทย ประเทศไทย (ภาคใต้)
มาเลเซีย ประเทศมาเลเซีย (รัฐเกอดะฮ์, รัฐปะลิส, รัฐเปรัก และรัฐปีนัง)
ประเทศพม่า ประเทศพม่า (ภาคตะนาวศรี)
ภาษา
ไทยถิ่นใต้
ศาสนา
ศาสนาพุทธนิกายเถรวาท
ส่วนน้อยศาสนาอิสลาม
กลุ่มชาติพันธุ์ที่เกี่ยวข้อง
ไทยสยาม · มอญ · ไทยเชื้อสายมลายู · มาเลเซียเชื้อสายสยาม (ซัมซัม· ไทยเชื้อสายจีน · พม่าเชื้อสายไทย

ชาวไทยใต้[1] เอกสารเก่าเรียก ชาวนอก[2][3][4] ส่วนชาวมลายูเรียกว่า ชาวสยาม (เซียม ในภาษามลายู และ ซีแย ในภาษามลายูปัตตานี)[] เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ขนาดใหญ่ทางตอนเหนือของคาบสมุทรมลายู พบได้ทั่วทุกจังหวัดในภาคใต้ของประเทศไทย แบ่งออกเป็นสองกลุ่มใหญ่ คือ ชาวไทยใต้ตะวันออก ได้แก่ จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดพัทลุง จังหวัดสงขลา จังหวัดสตูล และบางอำเภอในจังหวัดปัตตานี และชาวไทยใต้ตะวันตก ได้แก่ จังหวัดกระบี่ จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดระนอง และจังหวัดชุมพร[1] ทั้งยังพบชุมชนชาวไทยใต้ในบางพื้นที่ของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์[7] ทางตอนใต้ของภาคตะนาวศรี ประเทศพม่า[8] และทางภาคเหนือของรัฐปะลิส รัฐเกอดะฮ์ รัฐเปรัก และรัฐปีนัง ประเทศมาเลเซีย ชาวไทยใต้ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ และยึดอาชีพทำไร่ ทำสวน และประมงเป็นหลัก[1]

จากการศึกษาของรองศาสตราจารย์ ดร. วิภู กุตะนันท์ พบว่า ดีเอ็นเอของชาวไทยสยามในภาคกลางกับชาวไทยใต้ คล้ายกับดีเอ็นเอของชาวมอญ อีกทั้งชาวไทยสยามและชาวไทยใต้บางส่วนยังมีดีเอ็นเอตรงกับชาวอินเดียตอนใต้ อันแสดงถึงการผสมผสานทางพันธุกรรมซึ่งเกิดขึ้นเมื่อราว 600-700 ปีก่อน ซึ่งตรงกับยุคอาณาจักรอยุธยา[9] ด้วยเหตุนี้ชาวไทยใต้จึงมีวัฒนธรรมที่ผสมผสานกับหลายชนชาติ เช่น มลายู จีน อินเดีย อาหรับ เขมร และชนพื้นเมืองอื่น ๆ ในภาคสมุทรมลายู[1][3] มีวัฒนธรรมที่โดดเด่น คือ ภาษาไทยถิ่นใต้ ที่มีสำเนียงและคำศัพท์บางคำเป็นของตนเอง แตกต่างไปจากภาษาไทยถิ่นกลาง นอกจากภาษาแล้ว ยังมีขนบธรรมเนียมประเพณีเฉพาะตน เช่น ประเพณีสารทเดือนสิบ ประเพณีห่มผ้าขึ้นธาตุ และประเพณีชักพระ[1] ด้านอาหารโดดเด่นด้านความเผ็ดร้อน เช่น แกงเหลือง แกงไตปลา น้ำบูดู ข้าวยำ คั่วกลิ้ง และผักเหนาะ[1] และยังมีศิลปะการแสดงที่มีชื่อเสียง เช่น มโนราห์ ละครชาตรี ละครนอก และโขนละครวังพระเจ้านครศรีธรรมราช ซึ่งล้วนแต่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว[4][10] ด้วยเหตุนี้ชาวไทยใต้จึงถูกเรียกว่า ชาวนอก มาตั้งแต่ยุคอาณาจักรอยุธยาเป็นต้นมา ด้วยมองว่าเป็นคนต่างชาติต่างภาษากับกลุ่มไทยสยาม[3][4] ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชวินิจฉัยถึงเรื่องนี้ว่า "...เมืองนครศรีธรรมราชซึ่งยังไม่ได้สาบสูญ คงเป็นบ้านเมืองอยู่บัดนี้ และเป็นชาติไทยแท้ ยังหลงไปว่าเป็นชาวนครชาวนอก นับเข้าใน 12 ภาษาได้..."[3]

เชิงอรรถ

  1. ในภาษามลายูปัตตานี คำว่า ซีแย (سيٍّي) แปลว่า "คนสยาม" หรือ "ไทยพุทธ"[5][6]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 ดาริกา ธนะศักดิ์ศิริ (2555). รักษ์วัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์ (PDF). ปทุมธานี: พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก. p. 12.
  2. อุดมสมบัติ (จัน), หลวง. จดหมายหลวงอุดมสมบัติ. พระนคร : ศิวพร. 2505, หน้า 136
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 สุจิตต์ วงษ์เทศ (9 สิงหาคม 2561). "ชาวนอกอยู่ภาคใต้ คนเมืองในอยู่ภาคกลาง". มติชนออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 14 มกราคม 2567. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  4. 4.0 4.1 4.2 วันพระ สืบสกุลจินดา (23 เมษายน 2566). "เจาะลึกโขนละคร วังพระเจ้านครศรีธรรมราช จากกรุงธนบุรีถึงรัตนโกสินทร์". ศิลปวัฒนธรรม. สืบค้นเมื่อ 14 มกราคม 2567. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  5. นูรียัน สาแล๊ะ (เมษายน–กันยายน 2549). ลักษณะ "ความเป็นมลายู" ที่ปรากฏในเรื่องสั้นไทยฝีมือชาวใต้ (PDF). วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ 1(1). p. 121–123.
  6. เกรียงไกร เกิดศิริ, ดร. และคณะ (2560). "ความเป็นมลายู" ความหมายที่สัมพัทธ์กับประวัติศาสตร์ ชาติพันธุ์ ศาสนา รัฐ และความรู้สึก (PDF). ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม ศิลปสถาปัตยกรรม และสถาปัตยกรรมไทย. p. 32–33.
  7. ฉันทัส ทองช่วย, ดร. (17 ตุลาคม 2561). "ภาษาไทยถิ่นใต้: ความหลากหลายและประสานกลมกลืน". สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สืบค้นเมื่อ 14 มกราคม 2567. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  8. วรพจน์ วิเศษศิริ และคณะ (2565). "การสร้างอัตลักษณ์ความเป็นไทยของคนไทยพลัดถิ่นบ้านสิงขร มณฑลตะนาวศรี สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา". มหาวิทยาลัยนเรศวร. สืบค้นเมื่อ 14 มกราคม 2567. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  9. "วิภู กุตะนันท์ พบคำตอบ 'คนไทยมาจากไหน' บนเกลียวดีเอ็นเอ". The Momentum. 29 ธันวาคม 2564. สืบค้นเมื่อ 14 มกราคม 2567. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  10. สุจิตต์ วงษ์เทศ (5 มกราคม 2566). "โนราภาคใต้ ไปจากภาคกลาง สมัยอยุธยา". ศิลปวัฒนธรรม. สืบค้นเมื่อ 14 มกราคม 2567. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)