ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แม่แบบ:บทความคัดสรร/กันยายน 2567"
ทดลอง |
ไม่มีความย่อการแก้ไข ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560 |
||
(ไม่แสดง 7 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 4 คน) | |||
บรรทัด 1: | บรรทัด 1: | ||
{{Main page image/TFA|image=Место где предположительно родился Чингисхан.jpg|title=|caption=จุดที่ตามตำนานเชื่อว่าเป็นจุดที่โฮเอลุงให้กำเนิด[[เจงกิส ข่าน|ชิงกิสข่าน]] ใน[[ประเทศมองโกเลีย]]ปัจจุบัน}} |
|||
⚫ | '''โฮเอลุง |
||
⚫ | |||
⚫ | โฮเอลุงเกิดมาในตระกูล[[ |
||
⚫ | โฮเอลุงเกิดมาในตระกูล[[อ็อลฮอนด์]]ของชนเผ่า[[ฮองีรัด]] แรกเริ่มเธอสมรสกับชิเลโด ชนชั้นสูงชาว[[เมร์คิต]] แต่ไม่นานหลังแต่งงานก็ถูกจับกุมตัวไปโดย[[เยซุเกย์]] สมาชิกคนสำคัญของ[[ชาวมองโกล|เผ่ามองโกล]]ซึ่งลักพาตัวเธอไปเพื่อเป็นภรรยาเอก ทั้งคู่มีบุตรสี่คนและธิดาหนึ่งคน ได้แก่ เทมุจิง (หรือที่รู้จักในนาม ชิงกิสข่าน), กาซาร์, ฮาชิอน, เทมุเก และเทมุเล็ง หลังเยซุเกย์เสียชีวิตจากการวางยาพิษ และเผ่ามองโกลทิ้งครอบครัวของเธอจากเผ่า โฮเอลุงต้องเลี้ยงดูลูกทั้งหมดของเธอจนเติบใหญ่ด้วยตนเองภายใต้สถานะยากจน นักประวัติศาสตร์ชี้ให้เห็นถึงความสามารถในการไม่ย่อท้อและทักษะการบริหารจัดการของเธอเป็นพิเศษ เธอยังคงมีบทบาทสำคัญในชีวิตของเทมุจิงหลังแต่งงานกับ[[โบร์เท]] โฮเอลุงและโบร์เทเป็นสตรีสองคนที่คอยบริหารค่ายของเทมุจิงและให้คำปรึกษาแก่เขา |
||
บทความคัดสรรก่อนหน้านี้: [[การยอมจำนนของญี่ปุ่น]] – [[สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 3 และพระราชนัดดา]] – [[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]]<div style="top:+0.2em; text-align:right;">'''[[วิกิพีเดีย:บทความคัดสรรประจำเดือน/พ.ศ. 2567|ที่เก็บถาวร]]''' – '''[[วิกิพีเดีย:บทความคัดสรร|บทความคัดสรรอื่น ๆ]]'''</div> |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 00:08, 3 กันยายน 2567
โฮเอลุง (ราว 1162–1210) เป็นสตรีชนชั้นสูงชาวมองโกเลีย มารดาของเทมุจิง (หรือที่รู้จักในนามชิงกิสข่าน (ที่ให้กำเนิดในภาพ)) เธอมีบทบาทอย่างมากต่อการก้าวเข้าสู่อำนาจของเขา ดังที่ปรากฏบรรยายใน ประวัติศาสตร์ลับของชาวมองโกล
โฮเอลุงเกิดมาในตระกูลอ็อลฮอนด์ของชนเผ่าฮองีรัด แรกเริ่มเธอสมรสกับชิเลโด ชนชั้นสูงชาวเมร์คิต แต่ไม่นานหลังแต่งงานก็ถูกจับกุมตัวไปโดยเยซุเกย์ สมาชิกคนสำคัญของเผ่ามองโกลซึ่งลักพาตัวเธอไปเพื่อเป็นภรรยาเอก ทั้งคู่มีบุตรสี่คนและธิดาหนึ่งคน ได้แก่ เทมุจิง (หรือที่รู้จักในนาม ชิงกิสข่าน), กาซาร์, ฮาชิอน, เทมุเก และเทมุเล็ง หลังเยซุเกย์เสียชีวิตจากการวางยาพิษ และเผ่ามองโกลทิ้งครอบครัวของเธอจากเผ่า โฮเอลุงต้องเลี้ยงดูลูกทั้งหมดของเธอจนเติบใหญ่ด้วยตนเองภายใต้สถานะยากจน นักประวัติศาสตร์ชี้ให้เห็นถึงความสามารถในการไม่ย่อท้อและทักษะการบริหารจัดการของเธอเป็นพิเศษ เธอยังคงมีบทบาทสำคัญในชีวิตของเทมุจิงหลังแต่งงานกับโบร์เท โฮเอลุงและโบร์เทเป็นสตรีสองคนที่คอยบริหารค่ายของเทมุจิงและให้คำปรึกษาแก่เขา
บทความคัดสรรก่อนหน้านี้: การยอมจำนนของญี่ปุ่น – สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 3 และพระราชนัดดา – วัดพระศรีรัตนศาสดาราม