ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดับลิน"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัด 79: | บรรทัด 79: | ||
อุณหภูมิสูงสุดที่บันทึกอย่างเป็นทางการในดับลินคือ 33.1 องศาเซลเซียส เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2022 ที่สวนสาธารณะฟีนิกซ์พาร์ค มีการบันทึกอุณหภูมิสูงสุดที่ไม่เป็นทางการ 33.5 องศาเซลเซียส เมื่อเดือนกรกฎาคม 1876 ที่สวนสาธารณะฟีนิกซ์พาร์คเช่นกัน<ref>{{Cite journal |last1=Dooley |first1=Katherine |last2=Kelly |first2=Ciaran |last3=Seifert |first3=Natascha |last4=Myslinski |first4=Therese |last5=O'Kelly |first5=Sophie |last6=Siraj |first6=Rushna |last7=Crosby |first7=Ciara |last8=Dunne |first8=Jack Kevin |last9=McCauley |first9=Kate |last10=Donoghue |first10=James |last11=Gaddren |first11=Eoin |last12=Conway |first12=Daniel |last13=Cooney |first13=Jordan |last14=McCarthy |first14=Niamh |last15=Cullen |first15=Eoin |date=2023-01-03 |title=Reassessing long-standing meteorological records: an example using the national hottest day in Ireland |url=https://repository.library.noaa.gov/view/noaa/53027 |journal=Climate of the Past |language=en |volume=19 |issue=1 |pages=1–22 |doi=10.5194/cp-19-1-2023 |doi-access=free |bibcode=2023CliPa..19....1D |issn=1814-9332}}</ref> |
อุณหภูมิสูงสุดที่บันทึกอย่างเป็นทางการในดับลินคือ 33.1 องศาเซลเซียส เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2022 ที่สวนสาธารณะฟีนิกซ์พาร์ค มีการบันทึกอุณหภูมิสูงสุดที่ไม่เป็นทางการ 33.5 องศาเซลเซียส เมื่อเดือนกรกฎาคม 1876 ที่สวนสาธารณะฟีนิกซ์พาร์คเช่นกัน<ref>{{Cite journal |last1=Dooley |first1=Katherine |last2=Kelly |first2=Ciaran |last3=Seifert |first3=Natascha |last4=Myslinski |first4=Therese |last5=O'Kelly |first5=Sophie |last6=Siraj |first6=Rushna |last7=Crosby |first7=Ciara |last8=Dunne |first8=Jack Kevin |last9=McCauley |first9=Kate |last10=Donoghue |first10=James |last11=Gaddren |first11=Eoin |last12=Conway |first12=Daniel |last13=Cooney |first13=Jordan |last14=McCarthy |first14=Niamh |last15=Cullen |first15=Eoin |date=2023-01-03 |title=Reassessing long-standing meteorological records: an example using the national hottest day in Ireland |url=https://repository.library.noaa.gov/view/noaa/53027 |journal=Climate of the Past |language=en |volume=19 |issue=1 |pages=1–22 |doi=10.5194/cp-19-1-2023 |doi-access=free |bibcode=2023CliPa..19....1D |issn=1814-9332}}</ref> |
||
== เศรษฐกิจ == |
|||
ภูมิภาคดับลินเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของไอร์แลนด์ และเป็นผู้นำในการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศในยุค[[เสือเซลติก]] ในปี 2009 ดับลินถูกจัดอันดับให้เป็นเมืองที่ร่ำรวยที่สุดอันดับที่ 4 ของโลก โดยพิจารณาจาก[[กำลังซื้อ]] และอันดับที่ 10 โดยพิจารณาจากรายได้ส่วนบุคคล<ref>{{cite web |url=http://www.citymayors.com/economics/usb-purchasing-power.html |title=Richest cities in the world by purchasing power in 2009 |publisher=City Mayors |access-date=17 June 2010 |archive-date=6 May 2008 |archive-url=https://web.archive.org/web/20080506064245/http://www.citymayors.com/economics/usb-purchasing-power.html |url-status=live }}</ref><ref>{{cite web |url=http://www.citymayors.com/economics/richest_cities.html |title=Richest cities in the world by personal earnings in 2009 |publisher=Citymayors.com |date=22 August 2009 |access-date=17 June 2010 |archive-date=12 June 2010 |archive-url=https://web.archive.org/web/20100612160130/http://www.citymayors.com/economics/richest_cities.html |url-status=live }}</ref> จากการสำรวจค่าครองชีพทั่วโลกปี 2011 ของ Mercer ดับลินเป็นเมืองที่มีค่าครองชีพสูงอันดับที่ 13 ในสหภาพยุโรป (ลดลงจากอันดับที่ 10 ในปี 2010) และเป็นสถานที่อยู่อาศัยที่มีค่าครองชีพสูงอันดับที่ 58 ของโลก (ลดลงจากอันดับที่ 42 ในปี 2010)<ref>{{cite news |url=https://www.irishtimes.com/news/dublin-falls-in-city-cost-rankings-1.879923 |title=Dublin falls in city-cost rankings |newspaper=[[The Irish Times]] |date=12 July 2011 |access-date=20 July 2011 |archive-date=4 September 2012 |archive-url=https://archive.today/20120904020359/http://www.irishtimes.com/newspaper/breaking/2011/0712/breaking23.html |url-status=live }}</ref> ณ ปี 2017 มีผู้คนประมาณ 874,400 คนทำงานในเขตกรุงดับลิน ประมาณ 60% ของผู้ที่ทำงานในภาคการเงิน ภาคเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และภาคบริการมืออาชีพ ของไอร์แลนด์ ตั้งอยู่ในพื้นที่นี้<ref>{{Cite web|url=http://www.dublinchamber.ie/business-agenda/about-dublin|title=About Dublin. Economic Activity, Tax & Employment|website=Dublin Chamber|access-date=12 November 2018|archive-date=13 November 2018|archive-url=https://web.archive.org/web/20181113030028/http://www.dublinchamber.ie/business-agenda/about-dublin|url-status=live}}</ref> |
|||
ณ ปี 2024 ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในเมืองดับลินอยู่ที่ 2.536 แสนล้านยูโร ซึ่งหมายความว่าดับลินเป็นหนึ่งในเมืองที่เศรษฐกิจใหญ่ที่สุดใน[[สหภาพยุโรป]] |
|||
== เมืองแฝด == |
== เมืองแฝด == |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:25, 24 ตุลาคม 2567
ดับลิน Baile Átha Cliath | |
---|---|
ตามเข็มนาฬิกา, จากบนสุด: สะพานซามูเอล เบ็คเก็ตต์, วิทยาลัยทรินิตี, อาคารศุลกากร, ปราสาทดับลิน, สะพานโอคอนเนลล์, ศูนย์การประชุมดับลิน | |
พิกัด: 53°21′00″N 06°15′37″W / 53.35000°N 6.26028°W | |
ประเทศ | ไอร์แลนด์ |
จังหวัด | เลนสเตอร์ |
การปกครอง | |
• ประเภท | สภาเมือง |
• ศาลากลาง | ศาลาว่าการดับลิน |
• นายกเทศมนตรี | เกร์รี บรีน |
• Dáil Éireann | ดับลินกลาง ดับลินเหนือ ดับลินตะวันออกเฉียงเหนือ ดับลินตะวันตกเฉียงเหนือ ดับลินใต้ ดับลินตะวันออกเฉียงใต้ |
• รัฐสภายุโรป | เขตเลือกตั้งดับลิน |
พื้นที่[2][3] | |
• เมืองหลวง | 115 ตร.กม. (44 ตร.ไมล์) |
• เขตเมือง | 318 ตร.กม. (123 ตร.ไมล์) |
ประชากร | |
• เมืองหลวง | 554,554[1] คน |
• ความหนาแน่น | 4,811 คน/ตร.กม. (12,460 คน/ตร.ไมล์) |
• เขตเมือง | 1,173,179[5] คน |
• รวมปริมณฑล | 1,417,700[4] คน |
• เกรเทอร์ดับลิน | 1,904,806[6][7] |
เขตเวลา | UTC±0 (GMT) |
• ฤดูร้อน (เวลาออมแสง) | UTC+1 (IST) |
รหัสไปรษณีย์ | D1-18, 20, 22, 24, D6W |
รหัสพื้นที่ | 01 |
เว็บไซต์ | www |
ดับลิน (อังกฤษ: Dublin; ไอริช: Baile Átha Cliath[8]) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศไอร์แลนด์[9][10] ตั้งอยู่ใกล้อ่าวบนชายฝั่งทางภาคตะวันออกของประเทศ บริเวณปากแม่น้ำลิฟเฟย์ในจังหวัดเลนสเตอร์ ดับลินมีอาณาเขตติดต่อกับภูเขาดับลินซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาวิกโลว์ทางทิศใต้ ประชากรในเขตเมืองมีทั้งหมด 1,173,179 คน[5] ในขณะที่ประชากรในเขตดับลิน (เทศมณฑลดับลินเดิม) มีทั้งสิ้น 1,347,359 คนใน ค.ศ. 2016[11] ส่วนประชากรรวมในเขตปริมณฑลทั้งหมดคือ 1,904,806 คนจากการสำมะโนครัวในปี 2016 เช่นกัน[12]
มีการถกเถียงเรื่องการก่อตั้งดับลิน ซึ่งโดยส่วนใหญ่สันนิษฐานว่า ดับลินก่อตั้งโดยกลุ่มแกเอลส์ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 7[13] ต่อมาพวกไวกิงได้เข้ามาตั้งถิ่นฐานและขยายอาณาเขตออกไปจนกลายเป็นอาณาจักรดับลิน ต่อมาดับลินได้กลายเป็นถิ่นฐานหลักของไอร์แลนด์อันเนื่องจากการรุกรานของพวกนอร์แมน[13] ตัวนครได้ขยายตัวอย่างเร็วในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 และมีช่วงสั้น ๆ ที่ดับลินได้กลายเป็นนครที่ใหญ่เป็นอันดับที่สองของจักรวรรดิบริติช ก่อนที่จะมีพระราชบัญญัติสหภาพใน ค.ศ. 1800 หลังจากการแบ่งไอร์แลนด์ในใน ค.ศ. 1922 ดับลินกลายเป็นเมืองหลวงของรัฐอิสระไอริช ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไอร์แลนด์
ดับลินเป็นศูนย์กลางทางด้านการศึกษา ศิลปวัฒนธรรม การปกครอง และเศรษฐกิจของประเทศมาอย่างช้านาน โดยใน ค.ศ. 2018 ดับลินได้รับการจัดอันดับให้ติด 30 อันดับแรกของ "เมืองสำคัญของโลก" ประเภทแอลฟา โดยโครงข่ายวิจัยโลกาภิวัฒน์และนครโลก[14][15]
ที่มาของชื่อ
ชื่อ Dublin มาจากคำในภาษาไอริชยุคกลาง (เกลิคยุคกลาง) Du(i)blind (แปลตรงตัวว่า "บ่อดำ")[16] จาก dubh [d̪ˠuβˠ] "ดำ, มืด" และ linn [l̠ʲin̠ʲ(dʲ)] "บ่อน้ำ" คำนี้พัฒนามาอยู่ในรูป Du(i)bhlinn ในภาษาไอริชสมัยใหม่ช่วงต้น[16] ซึ่งชื่อดังกล่าวอ้างอิงถึงบ่อน้ำซึ่งเกิดจากน้ำขังเมื่อน้ำลงตรงสวนด้านหลังของปราสาทดับลิน ที่แม่น้ำพอดเดิลไหลเข้าสู่แม่น้ำลิฟฟีย์
ภูมิศาสตร์
ภูมิประเทศ
ดับลินตั้งอยู่ที่ปากแม่น้ำลิฟฟีย์ มีพื้นที่เมืองประมาณ 345 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ในภาคกลาง-ตะวันออกของไอร์แลนด์ ทางทิศใต้ติดกับเทือกเขาดับลิน ซึ่งเป็นเทือกเขาระดับต่ำและเป็นส่วนย่อยของเทือกเขาวิกโลว์ ส่วนด้านเหนือกับด้านตะวันตกถูกล้อมด้วยพื้นที่ราบการเกษตร[17]
แม่น้ำลิฟฟีย์แบ่งเมืองเป็นสองฝั่ง เหนือและใต้ ด้านใต้มีคลองใหญ่คือแกรนด์คาแนล ส่วนด้านเหนือมีคลองใหญ่คือรอยัลคาแนล ทั้งสองคลองเชื่อมกับแม่น้ำแชนนอนและไหลจากฝั่งตะวันตกของเมืองเข้าสู่ดับลินชั้นใน
ภูมิอากาศ
คล้ายกับภูมิภาคส่วนใหญ่ของยุโรปตะวันตกเฉียงเหนือ ดับลินมีสภาพภูมิอากาศแบบมหาสมุทร ด้วยฤดูร้อนที่อบอุ่น ฤดูหนาวที่เย็น และมีอุณหภูมิที่ไม่ต่างกันสุดขั้ว เมื่อวัดอุณหภูมิที่จตุรัสเมอเรียนกลางเมืองดับลิน เดือนที่หนาวที่สุดคือกุมภาพันธ์ โดยมีอุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย 4.1 องศาเซลเซียส และเดือนที่ร้อนที่สุดคือกรกฎาคม โดยมีอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 20.1 องศาเซลเซียส เนื่องจากปรากฏการณ์เกาะความร้อนในเมือง ดับลินจึงมีอุณหภูมิกลางคืนฤดูร้อนที่อบอุ่นที่สุดในไอร์แลนด์ อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ยที่จตุรัสเมอเรียนในเดือนกรกฎาคมคือ 13.5 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึกไว้ในเดือนกรกฎาคมคือ 7.8 องศาเซลเซียส ในวันที่ 3 กรกฎาคม 1974[18]
อุณหภูมิสูงสุดที่บันทึกอย่างเป็นทางการในดับลินคือ 33.1 องศาเซลเซียส เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2022 ที่สวนสาธารณะฟีนิกซ์พาร์ค มีการบันทึกอุณหภูมิสูงสุดที่ไม่เป็นทางการ 33.5 องศาเซลเซียส เมื่อเดือนกรกฎาคม 1876 ที่สวนสาธารณะฟีนิกซ์พาร์คเช่นกัน[19]
เศรษฐกิจ
ภูมิภาคดับลินเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของไอร์แลนด์ และเป็นผู้นำในการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศในยุคเสือเซลติก ในปี 2009 ดับลินถูกจัดอันดับให้เป็นเมืองที่ร่ำรวยที่สุดอันดับที่ 4 ของโลก โดยพิจารณาจากกำลังซื้อ และอันดับที่ 10 โดยพิจารณาจากรายได้ส่วนบุคคล[20][21] จากการสำรวจค่าครองชีพทั่วโลกปี 2011 ของ Mercer ดับลินเป็นเมืองที่มีค่าครองชีพสูงอันดับที่ 13 ในสหภาพยุโรป (ลดลงจากอันดับที่ 10 ในปี 2010) และเป็นสถานที่อยู่อาศัยที่มีค่าครองชีพสูงอันดับที่ 58 ของโลก (ลดลงจากอันดับที่ 42 ในปี 2010)[22] ณ ปี 2017 มีผู้คนประมาณ 874,400 คนทำงานในเขตกรุงดับลิน ประมาณ 60% ของผู้ที่ทำงานในภาคการเงิน ภาคเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และภาคบริการมืออาชีพ ของไอร์แลนด์ ตั้งอยู่ในพื้นที่นี้[23]
ณ ปี 2024 ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในเมืองดับลินอยู่ที่ 2.536 แสนล้านยูโร ซึ่งหมายความว่าดับลินเป็นหนึ่งในเมืองที่เศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในสหภาพยุโรป
เมืองแฝด
ดับลินเป็นเมืองแฝดกับสี่เมืองต่อไปนี้:[17][24][25]
เมือง | ประเทศ | ตั้งแต่ ค.ศ. |
---|---|---|
แซนโฮเซ | สหรัฐ[26] | 1986 |
ลิเวอร์พูล | สหราชอาณาจักร[27] | 1986 |
บาร์เซโลนา | สเปน[28][29] | 1998 |
ปักกิ่ง | จีน[30][31] | 2011 |
นอกจากนี้ ดับลินยังได้ทำข้อตกลงเพื่อดำเนินงานร่วมกันกับอีกหลายเมือง[24] และได้เสนอข้อตกลงกับรีโอเดจาเนโรในบราซิลและกัวดาลาฮาราในเม็กซิโก[32][33]
อ้างอิง
- ↑ "Sapmap Area: County Dublin City". Census 2016. Central Statistics Office. 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 December 2018. สืบค้นเมื่อ 23 December 2018.
- ↑ "Census of Population 2011" (PDF). Preliminary Results. Central Statistics Office. 30 June 2011. p. 21. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 14 November 2012. สืบค้นเมื่อ 25 May 2013.
- ↑ "Census of Population 2011". Population Density and Area Size by Towns by Size, Census Year and Statistic. Central Statistics Office. April 2012. สืบค้นเมื่อ 30 March 2014.
- ↑ "Number of Irish returning home at highest level since 2007". The Irish Times. สืบค้นเมื่อ 20 August 2020.
- ↑ 5.0 5.1 "Census of Population 2016" (PDF). Profile 1 – Geographical distribution. Central Statistics Office. 6 April 2017. p. 15. สืบค้นเมื่อ 6 April 2017.
Table 2.2 Population of urban areas, 2011 and 2016 [..] 2016 [..] Dublin city & suburbs [..] 1,173,179
- ↑ Greater Dublin Area
- ↑ "Census 2016 Profile 2 – Population Distribution and Movements – CSO – Central Statistics Office". www.cso.ie. สืบค้นเมื่อ 18 January 2018.[ลิงก์เสีย]
- ↑ "Dublin – Placename database of Ireland". สืบค้นเมื่อ 15 January 2018.
- ↑ "The Growth and Development of Dublin". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 30 March 2013. สืบค้นเมื่อ 30 December 2010.
- ↑ "Primate City Definition and Examples". สืบค้นเมื่อ 21 October 2009.
- ↑ "Sapmap Area – NUTS III – Dublin Region". Census 2016. Central Statistics Office. 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 January 2018. สืบค้นเมื่อ 16 January 2018.
- ↑ "Population Distribution – CSO – Central Statistics Office". สืบค้นเมื่อ 4 February 2018.
- ↑ 13.0 13.1 Dickson, David (2014). Dublin The Making of a Capital City. Profile Books Ltd. pp. x. ISBN 978-0-674-74444-8.
- ↑ "Global Financial Centres Index 8" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 11 October 2010. สืบค้นเมื่อ 30 December 2010.
- ↑ "The World According to GaWC 2018". Globalization and World Cities Research Network: Loughborough University. 13 November 2018. สืบค้นเมื่อ 23 November 2018.
- ↑ 16.0 16.1 "Baile Átha Cliath/Dublin". logainm.ie (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2024-06-15.
- ↑ 17.0 17.1 "Dublin City Council: Facts about Dublin City". Dublin City Council. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 July 2014. สืบค้นเมื่อ 8 July 2014.
- ↑ "Historical Data: DUBLIN (MERRION SQUARE) - Station No. 3923". Met Éireann. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 June 2021. สืบค้นเมื่อ 9 June 2022.
- ↑ Dooley, Katherine; Kelly, Ciaran; Seifert, Natascha; Myslinski, Therese; O'Kelly, Sophie; Siraj, Rushna; Crosby, Ciara; Dunne, Jack Kevin; McCauley, Kate; Donoghue, James; Gaddren, Eoin; Conway, Daniel; Cooney, Jordan; McCarthy, Niamh; Cullen, Eoin (2023-01-03). "Reassessing long-standing meteorological records: an example using the national hottest day in Ireland". Climate of the Past (ภาษาอังกฤษ). 19 (1): 1–22. Bibcode:2023CliPa..19....1D. doi:10.5194/cp-19-1-2023. ISSN 1814-9332.
- ↑ "Richest cities in the world by purchasing power in 2009". City Mayors. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 May 2008. สืบค้นเมื่อ 17 June 2010.
- ↑ "Richest cities in the world by personal earnings in 2009". Citymayors.com. 22 August 2009. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 June 2010. สืบค้นเมื่อ 17 June 2010.
- ↑ "Dublin falls in city-cost rankings". The Irish Times. 12 July 2011. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 September 2012. สืบค้นเมื่อ 20 July 2011.
- ↑ "About Dublin. Economic Activity, Tax & Employment". Dublin Chamber. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 November 2018. สืบค้นเมื่อ 12 November 2018.
- ↑ 24.0 24.1 "Dublin City Council: International Relations Unit". Dublin City Council. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-01-07. สืบค้นเมื่อ 8 July 2014.
- ↑ "Managing our International relationships – City twinning". Dublin City Council. สืบค้นเมื่อ 28 August 2018.
We are currently twinned with four cities: Beijing (The People's Republic of China) – Twinned since 2010 [..] Barcelona (Spain) – Twinned since 1998 [..] Liverpool (United Kingdom) – Twinned since 1997 [..] San José (United States of America) – Twinned since 1986
- ↑ "Sister City Program". City of San José. 19 June 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 May 2017. สืบค้นเมื่อ 8 July 2014.
- ↑ "Liverpool City Council twinning". Government of the United Kingdom. 17 November 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 July 2010. สืบค้นเมื่อ 23 June 2009.
- ↑ "Ciutats agermanades, Relacions bilaterals, L'acció exterior". CIty of Barcelona. 18 June 2009. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 April 2010. สืบค้นเมื่อ 23 June 2009.
- ↑ "Barcelona City Council signs cooperation agreements with Dublin, Seoul, Buenos Aires and Hong Kong". Ajuntament de Barcelona. 26 November 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 September 2015. สืบค้นเมื่อ 29 August 2015.
- ↑ "Dublin signs twinning agreement with Beijing". Dublin City Council. 2 June 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-01-07. สืบค้นเมื่อ 11 February 2012.
- ↑ Coonan, Clifford (3 June 2011). "Dublin officially twinned with Beijing". The Irish Times. สืบค้นเมื่อ 8 July 2014.(ต้องรับบริการ)
- ↑ Coonan, Clifford (21 May 2011). "Dublin was also in talks with Rio de Janeiro in Brazil about twinning with that city". The Irish Times. สืบค้นเมื่อ 1 June 2011.(ต้องรับบริการ)
- ↑ "Mexican city to be twinned with Dublin, says Lord Mayor". The Irish Times. 21 March 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 March 2013. สืบค้นเมื่อ 29 March 2013.(ต้องรับบริการ)
แหล่งข้อมูลอื่น
- Dublin City Council – Official website of the local authority for Dublin
- Dublin Tourist Board – Official tourism site
- Alternative Dublin Guide Hidden-Dublin Guide
- Dublin UNESCO City of Literature official site