ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เถรวาท"
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8.2 |
ไม่มีความย่อการแก้ไข ป้ายระบุ: แก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่ |
||
(ไม่แสดง 31 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 17 คน) | |||
บรรทัด 1: | บรรทัด 1: | ||
{{พุทธศาสนา}} |
{{พุทธศาสนา}} |
||
'''เถรวาท''' ({{langx|pi|Theravāda}}{{refn|group=note|{{langx|si|ථේරවාදය}}; {{langx|my|ထေရဝါဒ}}; {{langx|km|ថេរវាទ}} [[กลุ่มผู้เชี่ยวชาญชื่อทางภูมิศาสตร์แห่งสหประชาชาติ]]: {{transliteration|km|Thérôvéat}} {{IPA-km|tʰeːreaʔʋiət|}}; {{langx|lo|ເຖຣະວາດ}}; [[ภาษามาตรฐานของเกาหลีเหนือ|เกาหลีมุนฮวาโอ]]: 테라바다; {{langx|pi|𑀣𑁂𑀭𑀯𑀸𑀤}}; {{langx|en|Theravada}} {{IPAc-en|ˌ|t|ɛr|ə|ˈ|v|ɑː|d|ə}}}} {{lit|'นิกายพระเถระ'}}<ref name=Bodhi>{{Citation |editor1-last=Bodhi |editor1-first=Bhikkhu |last1=Gyatso |first1=Tenzin |author-link1=14th Dalai Lama |date=2005 |title=In the Buddha's Words: An Anthology of Discourses from the Pali Canon |url=https://books.google.com/books?id=11X1h60Qc0IC |location=[[Somerville, Massachusetts]] |publisher=[[Wisdom Publications]] |page=ix |isbn=978-0-86171-491-9}}</ref><ref name=Britannica>{{Citation |url=https://www.britannica.com/topic/Buddhism/Historical-development |title=Theravada |last1=Reynolds |first1=Frank E. |last2=Kitagawa |first2=Joseph M. |last3=Nakamura |first3=Hajime |author-link3=Hajime Nakamura |last4=Lopez |first4=Donald S. |author-link4=Donald S. Lopez Jr. |last5=Tucci |first5=Giuseppe |author-link5=Giuseppe Tucci |date=2018 |website=britannica.com |publisher=[[Encyclopaedia Britannica]] |quote=Theravada (Pali: "Way of the Elders"; Sanskrit, Sthaviravada) emerged as one of the [[Hinayana]] (Sanskrit: "Lesser Vehicle") [[Early Buddhist schools|schools]], traditionally numbered at 18, of early Buddhism. The Theravadins trace their lineage to the [[Sthavira nikāya|Sthaviravada]] school, one of the two major schools (the [[มหาสังฆิกะ]] was the other) that supposedly formed in the wake of the [[Second Buddhist council|Council of Vaishali]] (now in [[Bihar]] state) held some 100 years after the Buddha's death. Employing Pali as their sacred language, the Theravadins preserved their version of the Buddha's teaching in the ''[[Tipitaka]]'' ("Three Baskets").}}</ref>) เดิมชื่อ '''สถวีรวาท''' เป็น[[นิกายในศาสนาพุทธ]] ฝ่าย[[มหายาน]]เรียกนิกายนี้ว่า '''[[หีนยาน]]''' ([[บาลี]]/[[สันสกฤต]]: हीनयान) |
|||
'''เถรวาท''' (อ่านว่า เถ-ระ-วาด) ({{lang-pi|theravāda}} ''เถรวาท'', {{lang-sa|स्थविरवाद}} sthaviravāda ''สฺถวิรวาท''; {{lang-en|Theravada}}) โดยศัพท์แปลว่า "ตามแนวทางของพระ[[เถระ]]" เป็นชื่อของ[[นิกาย]]ที่เก่าแก่ที่สุดใน[[ศาสนาพุทธ]] ฝ่าย[[มหายาน]]เรียกนิกายนี้ว่า '''[[หีนยาน]]''' ([[บาลี]]/[[สันสกฤต]]: हीनयान) |
|||
นิกายเถรวาทเป็นนิกายหลักที่ได้รับการนับถือใน[[ประเทศศรีลังกา]] (ประมาณ 70% ของประชากรทั้งหมด<ref>{{cite web | date = | url = https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/geos/ce.html | title = The World Factbook: Sri Lanka | work = CIA World Factbook | accessdate = 2008-10-26 | archive-date = 2018-12-24 | archive-url = https://web.archive.org/web/20181224211303/https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/geos/ce.html | url-status = dead }}.</ref>) และประเทศในแผ่นดิน[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] ได้แก่ [[ประเทศไทย|ไทย]] [[ประเทศกัมพูชา|กัมพูชา]] [[ประเทศลาว|ลาว]] และ[[ประเทศพม่า|พม่า]] และเป็นส่วนน้อยใน[[ประเทศจีน]]และ[[ประเทศเวียดนาม|เวียดนาม]] โดยเฉพาะใน[[มณฑลยูนนาน]] [[ประเทศเนปาล|เนปาล]] [[ประเทศบังกลาเทศ|บังกลาเทศ]]ที่ |
นิกายเถรวาทเป็นนิกายหลักที่ได้รับการนับถือใน[[ประเทศศรีลังกา]] (ประมาณ 70% ของประชากรทั้งหมด<ref>{{cite web | date = | url = https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/geos/ce.html | title = The World Factbook: Sri Lanka | work = CIA World Factbook | accessdate = 2008-10-26 | archive-date = 2018-12-24 | archive-url = https://web.archive.org/web/20181224211303/https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/geos/ce.html | url-status = dead }}.</ref>) และประเทศในแผ่นดิน[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] ได้แก่ [[ประเทศไทย|ไทย]] [[ประเทศกัมพูชา|กัมพูชา]] [[ประเทศลาว|ลาว]] และ[[ประเทศพม่า|พม่า]] และเป็นส่วนน้อยใน[[ประเทศจีน]]และ[[ประเทศเวียดนาม|เวียดนาม]] โดยเฉพาะใน[[มณฑลยูนนาน]] [[ประเทศเนปาล|เนปาล]] [[ประเทศบังกลาเทศ|บังกลาเทศ]]ที่[[ภาคจิตตะกอง]] [[ประเทศเวียดนาม|เวียดนาม]]ทางตอนใต้ใกล้ชายแดนกัมพูชา [[ประเทศอินโดนีเซีย|อินโดนีเซีย]] [[ประเทศมาเลเซีย|มาเลเซีย]]มีนับถือทางตอนเหนือของประเทศ มีศาสนิกส่วนใหญ่เป็น[[ชาวไทย]]และ[[ชาวสิงหล]] ตัวเลขผู้นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาทอยู่ที่ประมาณ 177,400,000 คน |
||
สำหรับประเทศไทยมีผู้นับถือพุทธศาสนานิกายเถรวาทประมาณ 94% ของประชากรทั้งหมด <ref>{{cite web | date = | url = |
สำหรับประเทศไทยมีผู้นับถือพุทธศาสนานิกายเถรวาทประมาณ 94% ของประชากรทั้งหมด <ref>{{cite web | date = | url = https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/geos/t.html | title = The World Factbook: Thailand | work = CIA World Factbook | accessdate = 2008-10-26 }}{{ลิงก์เสีย|date=สิงหาคม 2022 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref> นิกายเถรวาทได้รับการนับถือคู่กับนิกาย[[อาจริยวาท]] (คือนิกาย[[มหายาน]] ในปัจจุบัน) |
||
https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/geos/t.html | title = The World Factbook: Thailand | work = CIA World Factbook | accessdate = 2008-10-26 }}</ref> นิกายเถรวาทได้รับการนับถือคู่กับนิกาย[[อาจริยวาท]] (คือนิกาย[[มหายาน]] ในปัจจุบัน) |
|||
== ความเป็นมาของนิกายเถรวาท == |
== ความเป็นมาของนิกายเถรวาท == |
||
บรรทัด 36: | บรรทัด 35: | ||
** [[มหานิกาย]] (Maha Nikaya) |
** [[มหานิกาย]] (Maha Nikaya) |
||
** [[ธรรมยุติกนิกาย]] (Dharmmayuttika Nikaya) |
** [[ธรรมยุติกนิกาย]] (Dharmmayuttika Nikaya) |
||
== หมายเหตุ == |
|||
{{notelist}} |
|||
{{reflist|group=lower-alpha}} |
|||
{{reflist|group=note}} |
|||
== อ้างอิง == |
== อ้างอิง == |
||
บรรทัด 50: | บรรทัด 54: | ||
[[หมวดหมู่:เถรวาท| ]] |
[[หมวดหมู่:เถรวาท| ]] |
||
[[หมวดหมู่:คำศัพท์ศาสนาพุทธ |
[[หมวดหมู่:คำศัพท์ศาสนาพุทธ]] |
||
[[หมวดหมู่:ก่อตั้งในศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาล]] |
[[หมวดหมู่:ก่อตั้งในศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาล]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 22:08, 2 ธันวาคม 2567
ส่วนหนึ่งของชุดบทความ |
ศาสนาพุทธ |
---|
เถรวาท (บาลี: Theravāda[note 1] แปลว่า 'นิกายพระเถระ'[1][2]) เดิมชื่อ สถวีรวาท เป็นนิกายในศาสนาพุทธ ฝ่ายมหายานเรียกนิกายนี้ว่า หีนยาน (บาลี/สันสกฤต: हीनयान)
นิกายเถรวาทเป็นนิกายหลักที่ได้รับการนับถือในประเทศศรีลังกา (ประมาณ 70% ของประชากรทั้งหมด[3]) และประเทศในแผ่นดินเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ ไทย กัมพูชา ลาว และพม่า และเป็นส่วนน้อยในประเทศจีนและเวียดนาม โดยเฉพาะในมณฑลยูนนาน เนปาล บังกลาเทศที่ภาคจิตตะกอง เวียดนามทางตอนใต้ใกล้ชายแดนกัมพูชา อินโดนีเซีย มาเลเซียมีนับถือทางตอนเหนือของประเทศ มีศาสนิกส่วนใหญ่เป็นชาวไทยและชาวสิงหล ตัวเลขผู้นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาทอยู่ที่ประมาณ 177,400,000 คน
สำหรับประเทศไทยมีผู้นับถือพุทธศาสนานิกายเถรวาทประมาณ 94% ของประชากรทั้งหมด [4] นิกายเถรวาทได้รับการนับถือคู่กับนิกายอาจริยวาท (คือนิกายมหายาน ในปัจจุบัน)
ความเป็นมาของนิกายเถรวาท
[แก้]หลังจากพระโคตมพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพานได้ 3 เดือน พระอรหันตสาวกผู้ได้เคยสดับสั่งสอนของพระองค์จำนวน 500 รูป ก็ประชุมทำปฐมสังคายนา ณ ถ้ำสัตบรรณคูหา ใกล้เมืองราชคฤห์ แคว้นมคธ ใช้เวลาสอบทานอยู่ 7 เดือน จึงประมวลคำสอนของพระพุทธเจ้าได้สำเร็จเป็นครั้งแรก นับเป็นบ่อเกิดของคัมภีร์พระไตรปิฎกภาษาบาลี คำสอนที่ลงมติกันไว้ในครั้งปฐมสังคายนาและได้นับถือกันสืบมา เรียกว่า เถรวาท แปลว่า คำสอนที่วางไว้เป็นหลักการโดยพระเถระ คำว่า เถระ ในที่นี้ หมายถึงพระเถระผู้ประชุมทำสังคายนาครั้งแรก และพระพุทธศาสนาซึ่งถือตามหลักที่ได้สังคายนาครั้งแรกดังกล่าว เรียกว่า นิกายเถรวาท อันหมายถึง คณะสงฆ์กลุ่มที่ยึดคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ทั้งถ้อยคำ และเนื้อความที่ท่านสังคายนาไว้โดยเคร่งครัด ตลอดจนรักษาแม้แต่ตัวภาษาดั้งเดิมคือภาษาบาลี[5]
คณะสงฆ์เถรวาท
[แก้]คณะสงฆ์เถรวาทในแต่ละประเทศ ได้แบ่งย่อยออกเป็นหลายนิกาย โดยยังคงยึดถือพระธรรมวินัยเดียวกัน
- ประเทศบังกลาเทศ:
- สังฆราชนิกาย (Sangharaj Nikaya)
- มหาสถพีรนิกาย (Mahasthabir Nikaya)
- ประเทศพม่า :
- สุธัมมนิกาย (Thudhamma Nikaya)
- ชเวจินนิกาย (Shwekyin Nikaya)
- ทวารนิกาย (Dvara Nikaya)
- ประเทศศรีลังกา:
- สยามนิกาย (Siam Nikaya)
- อมรปุรนิกาย (Amarapura Nikaya)
- ธรรมรักษิต (Dharmarakshitha)
- คันดุโบดา (Kanduboda) หรือ ชเวจินนิกาย (Swejin Nikaya)
- ตโปวนะ (Tapovana) หรือ กัลยาณวงศ์ (Kalyanavamsa)
- รามัญนิกาย
- ประเทศไทย, ประเทศกัมพูชา และประเทศมาเลเซีย (ในกลุ่มชาวไทย)
- มหานิกาย (Maha Nikaya)
- ธรรมยุติกนิกาย (Dharmmayuttika Nikaya)
หมายเหตุ
[แก้]- ↑ สิงหล: ථේරවාදය; พม่า: ထေရဝါဒ; เขมร: ថេរវាទ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญชื่อทางภูมิศาสตร์แห่งสหประชาชาติ: Thérôvéat [tʰeːreaʔʋiət]; ลาว: ເຖຣະວາດ; เกาหลีมุนฮวาโอ: 테라바다; บาลี: 𑀣𑁂𑀭𑀯𑀸𑀤; อังกฤษ: Theravada /ˌtɛrəˈvɑːdə/
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Gyatso, Tenzin (2005), Bodhi, Bhikkhu (บ.ก.), In the Buddha's Words: An Anthology of Discourses from the Pali Canon, Somerville, Massachusetts: Wisdom Publications, p. ix, ISBN 978-0-86171-491-9
- ↑ Reynolds, Frank E.; Kitagawa, Joseph M.; Nakamura, Hajime; Lopez, Donald S.; Tucci, Giuseppe (2018), "Theravada", britannica.com, Encyclopaedia Britannica,
Theravada (Pali: "Way of the Elders"; Sanskrit, Sthaviravada) emerged as one of the Hinayana (Sanskrit: "Lesser Vehicle") schools, traditionally numbered at 18, of early Buddhism. The Theravadins trace their lineage to the Sthaviravada school, one of the two major schools (the มหาสังฆิกะ was the other) that supposedly formed in the wake of the Council of Vaishali (now in Bihar state) held some 100 years after the Buddha's death. Employing Pali as their sacred language, the Theravadins preserved their version of the Buddha's teaching in the Tipitaka ("Three Baskets").
- ↑ "The World Factbook: Sri Lanka". CIA World Factbook. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-24. สืบค้นเมื่อ 2008-10-26..
- ↑ "The World Factbook: Thailand". CIA World Factbook. สืบค้นเมื่อ 2008-10-26.[ลิงก์เสีย]
- ↑ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๗ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๗ จุลวรรค ภาค ๒ ปัญจสติกขันธกะ (เรื่องพระมหากัสสปเถระ สังคายนาปรารภคำของพระสุภัททวุฑฒบรรพชิต). พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก <[1]>. เข้าถึงเมื่อ 9-6-52
- พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช), พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด, วัดราชโอรสาราม กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548