ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:รู้ไหมว่า/เสนอรู้ไหมว่า"
ป้ายระบุ: แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ ลิงก์แก้ความกำกวม |
|||
(ไม่แสดง 6 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 3 คน) | |||
บรรทัด 8: | บรรทัด 8: | ||
; บทความที่ได้รับกำหนดแสดงผลในเดือนธันวาคม 2567 มีดังนี้ |
; บทความที่ได้รับกำหนดแสดงผลในเดือนธันวาคม 2567 มีดังนี้ |
||
[ส่วนนี้ยังรอกระบวนการทำงานแบบอัตโนมัติ] ความถี่การปรับปรุง 6 ครั้ง (วันที่ 3 8 13 19 24 และ 29) |
[ส่วนนี้ยังรอกระบวนการทำงานแบบอัตโนมัติ] ความถี่การปรับปรุง 6 ครั้ง (วันที่ 3 8 13 19 24 และ 29) |
||
⚫ | |||
* {{tl|รู้ไหมว่า/2024-11-28}} ความยาวข้อความรวม 983 อักขระ {{Ping|DMS WIKI|Waniosa Amedestir<!--2 บทความ (อับดุลอะซีซ บูตัฟลีเกาะฮ์,ยูกิโอะ ฮาโตยามะ)-->|Mia Kato|Wutkh|Sawasdeeee}} |
|||
---- |
---- |
||
* {{tl|รู้ไหมว่า/2024-12-03}} ความยาวข้อความรวม 1084 อักขระ {{Ping|Chainwit.|Waniosa Amedestir|Swiss Toblerone|Kaoavi|DMS WIKI|วณิพก}} |
* {{tl|รู้ไหมว่า/2024-12-03}} ความยาวข้อความรวม 1084 อักขระ {{Ping|Chainwit.|Waniosa Amedestir|Swiss Toblerone|Kaoavi|DMS WIKI|วณิพก}} |
||
⚫ | |||
* {{tl|รู้ไหมว่า/2024-12-08}} ความยาวข้อความรวม 1078 อักขระ {{Ping|วณิพก|Chainwit.|วณิพก|Waniosa Amedestir|BeckNoDa|AmberMUIC}} |
* {{tl|รู้ไหมว่า/2024-12-08}} ความยาวข้อความรวม 1078 อักขระ {{Ping|วณิพก|Chainwit.|วณิพก|Waniosa Amedestir|BeckNoDa|AmberMUIC}} |
||
* {{tl|รู้ไหมว่า/2024-12-13}} ความยาวข้อความรวม 1142 อักขระ {{Ping|DMS WIKI|Chainwit.|Waniosa Amedestir|PhetanNTN|Pomznp|Siam2019}} |
* {{tl|รู้ไหมว่า/2024-12-13}} ความยาวข้อความรวม 1142 อักขระ {{Ping|DMS WIKI|Chainwit.|Waniosa Amedestir|PhetanNTN|Pomznp|Siam2019}} |
||
บรรทัด 102: | บรรทัด 101: | ||
#...'''[[อาวาโมริ]]'''ซึ่งเป็นสุรากลั่นจาก[[จังหวัดโอกินาวะ|โอกินาวะ]] [[ประเทศญี่ปุ่น]] มีต้นกำเนิดมาจาก[[สุราขาว]]ของไทย--[[ผู้ใช้:ZeroSixTwo|062]] ([[คุยกับผู้ใช้:ZeroSixTwo|คุย]]) 23:20, 30 พฤศจิกายน 2567 (+07) |
#...'''[[อาวาโมริ]]'''ซึ่งเป็นสุรากลั่นจาก[[จังหวัดโอกินาวะ|โอกินาวะ]] [[ประเทศญี่ปุ่น]] มีต้นกำเนิดมาจาก[[สุราขาว]]ของไทย--[[ผู้ใช้:ZeroSixTwo|062]] ([[คุยกับผู้ใช้:ZeroSixTwo|คุย]]) 23:20, 30 พฤศจิกายน 2567 (+07) |
||
#...ในปัจจุบัน ชื่อของ'''[[คิม จู-แอ|ลูกสาวผู้นำสูงสุด คิม จ็อง-อึน]]''' ยังไม่ถูกเปิดเผยอย่างเป็นทางการ --[[ผู้ใช้:ร้อยตรี โชคดี|ร้อยตรี โชคดี]] ([[คุยกับผู้ใช้:ร้อยตรี โชคดี|คุย]]) 23:32, 30 พฤศจิกายน 2567 (+07) |
#...ในปัจจุบัน ชื่อของ'''[[คิม จู-แอ|ลูกสาวผู้นำสูงสุด คิม จ็อง-อึน]]''' ยังไม่ถูกเปิดเผยอย่างเป็นทางการ --[[ผู้ใช้:ร้อยตรี โชคดี|ร้อยตรี โชคดี]] ([[คุยกับผู้ใช้:ร้อยตรี โชคดี|คุย]]) 23:32, 30 พฤศจิกายน 2567 (+07) |
||
#...'''[[จักรพรรดิชูไอ]]'''เป็น[[จักรพรรดิญี่ปุ่น]]พระองค์แรกที่ขึ้นครองราชย์โดยไม่ได้เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิองค์ก่อน แต่เป็นพระราชนัดดาใน[[จักรพรรดิเซมุ]] (บทความโดยผู้ใช้ไม่ระบุตัวตน 171.96.170.79 / ทำให้เป็นสองเท่าโดย Waniosa Amedestir) --[[ผู้ใช้:Waniosa Amedestir|Waniosa Amedestir]] ([[คุยกับผู้ใช้:Waniosa Amedestir|คุย]]) 21:00, 2 ธันวาคม 2567 (+07) |
|||
#... |
|||
#... |
#... |
||
<!-- เพื่อให้ง่ายต่อการติดตามกรุณาลงชื่อ <nowiki>--~~~~</nowiki> หลังข้อความที่เสนอด้วย รวมถึงระบุชื่อผู้เขียนหรือผู้แก้ไขหลักไว้ท้ายข้อความที่เสนอและใน--ประวัติการแก้ไข--> |
<!-- เพื่อให้ง่ายต่อการติดตามกรุณาลงชื่อ <nowiki>--~~~~</nowiki> หลังข้อความที่เสนอด้วย รวมถึงระบุชื่อผู้เขียนหรือผู้แก้ไขหลักไว้ท้ายข้อความที่เสนอและใน--ประวัติการแก้ไข--> |
||
บรรทัด 141: | บรรทัด 142: | ||
#:* รวยที่สุดอันดับสองของอินเดีย |
#:* รวยที่สุดอันดับสองของอินเดีย |
||
#:* ใกล้ชิดกับพรรคบีเจพี --[[ผู้ใช้:Tikmok|Tikmok]] ([[คุยกับผู้ใช้:Tikmok|คุย]]) 13:50, 30 พฤศจิกายน 2567 (+07) |
#:* ใกล้ชิดกับพรรคบีเจพี --[[ผู้ใช้:Tikmok|Tikmok]] ([[คุยกับผู้ใช้:Tikmok|คุย]]) 13:50, 30 พฤศจิกายน 2567 (+07) |
||
#...[[สารหน่วงไฟ]] เป็นสารเคมีที่ถูกนำมาใช้เพื่อเพิ่ม[[ความปลอดภัย]]จาก[[การลุกไหม้]]ของวัสดุต่าง ๆ เช่น [[พลาสติก]] [[ผ้า]] หรือ[[วัสดุก่อสร้าง]] โดยมีคุณสมบัติช่วยชะลอหรือหยุดการลุกลามของ[[ไฟ]] --[[ผู้ใช้:Mia Kato|Mia Kato]] ([[คุยกับผู้ใช้:Mia Kato|Mia Kato]]) 17:41, 2 ธันวาคม 2567 |
|||
⚫ | #...การใช้[[สารหน่วงไฟ]]ใน[[อุตสาหกรรม]]ช่วยเพิ่มความปลอดภัยในกรณีเกิด[[เพลิงไหม้]] แต่ในขณะเดียวกันก็มีข้อกังวลเกี่ยวกับผลกระทบต่อ[[สุขภาพ]]และ[[สิ่งแวดล้อม]] โดยเฉพาะ[[ฮาโลเจน|สารฮาโลเจน]]ที่อาจสะสมใน[[ธรรมชาติ]]และเป็นพิษต่อ[[ระบบนิเวศ]] ในปัจจุบันจึงมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาสารหน่วงไฟชนิดใหม่ที่มีความปลอดภัยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น รวมถึงการออกกฎระเบียบควบคุมการใช้งานในหลายประเทศ [[ผู้ใช้:Mia Kato|Mia Kato]] ([[คุยกับผู้ใช้:Mia Kato|คุย]]) |
||
#: {{ping|Mia Kato}} ปกติจะไม่ใช้ข้อเสนอในเชิงนิยามของชื่อบทความนะครับ ให้เสนอข้อความอื่นครับ น่าจะมีเยอะนะครับบทความนี้ / อย่างลืมเซ็นลายเซ็นด้วยนะครับ --[[ผู้ใช้:Tikmok|Tikmok]] ([[คุยกับผู้ใช้:Tikmok|คุย]]) 18:08, 2 ธันวาคม 2567 (+07) |
#: {{ping|Mia Kato}} ปกติจะไม่ใช้ข้อเสนอในเชิงนิยามของชื่อบทความนะครับ ให้เสนอข้อความอื่นครับ น่าจะมีเยอะนะครับบทความนี้ / อย่างลืมเซ็นลายเซ็นด้วยนะครับ --[[ผู้ใช้:Tikmok|Tikmok]] ([[คุยกับผู้ใช้:Tikmok|คุย]]) 18:08, 2 ธันวาคม 2567 (+07) |
||
⚫ | #::...การใช้[[สารหน่วงไฟ]]ใน[[อุตสาหกรรม]]ช่วยเพิ่มความปลอดภัยในกรณีเกิด[[เพลิงไหม้]] แต่ในขณะเดียวกันก็มีข้อกังวลเกี่ยวกับผลกระทบต่อ[[สุขภาพ]]และ[[สิ่งแวดล้อม]] โดยเฉพาะ[[ฮาโลเจน|สารฮาโลเจน]]ที่อาจสะสมใน[[ธรรมชาติ]]และเป็นพิษต่อ[[ระบบนิเวศ]] ในปัจจุบันจึงมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาสารหน่วงไฟชนิดใหม่ที่มีความปลอดภัยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น รวมถึงการออกกฎระเบียบควบคุมการใช้งานในหลายประเทศ -- [[ผู้ใช้:Mia Kato|Mia Kato]] ([[คุยกับผู้ใช้:Mia Kato|คุย]]) 20:52, 2 ธันวาคม 2024 |
||
#::* {{ping|Mia Kato}}จากการตรวจสอบการอ้างอิงที่ระบุในบทความ พบว่า ส่วนที่ตรวจสอบไม่ถูกต้องทั้งหมด คือ หาแหล่งอ้างอิงตามชื่อ/ผู้เขียนไม่ได้ เลข DOI ไม่มีหรือไม่ใช่เอกสารที่ระบุ ผมไม่ทราบว่าได้แหล่งอ้างอิงที่ระบุมาจากไหน บทความวิกิอังกฤษก็ไม่มีนะครับ น่าจะแก้จุดนี้ทั้งบทความให้ดีก่อนครับ / แหล่งอ้างอิงในบทความที่ตรวจสอบแล้วพบว่าผิดพลาดรวมทั้ง |
|||
#::**{{Cite journal |title=Health risks of brominated flame retardants |author=McDonald, T.A. |journal=Environmental Health Perspectives |year=2002 |volume=110 |pages=517–528 |doi=10.1289/ehp.02110517}} |
|||
#::**{{Cite journal |title=Toxic emissions from flame-retarded materials |author=Stec, A.A., Hull, T.R. |journal=Chemosphere |year=2011 |volume=85 |pages=479–487 |doi=10.1016/j.chemosphere.2011.06.076}} |
|||
#::**{{Cite journal |title=Environmental distribution of flame retardants and their transformation products |author=de Wit, C.A. |journal=Chemosphere |year=2002 |volume=46 |pages=583–624 |doi=10.1016/S0045-6535(01)00239-6}} |
|||
#::* ลายเซ็นให้ลงแบบนี้นะครับ <code><nowiki>--~~~~</nowiki></code> |
|||
#::* โดยมากแล้ว ไม่ควรปรับข้อความที่เขียนโต้ตอบกับคนอื่นนะครับ ให้เพิ่มแต่อย่างไปปรับข้อความเดิม --[[ผู้ใช้:Tikmok|Tikmok]] ([[คุยกับผู้ใช้:Tikmok|คุย]]) 04:03, 3 ธันวาคม 2567 (+07) |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:02, 3 ธันวาคม 2567
แม่แบบปัจจุบัน (หน้าหลัก) | |
---|---|
เสนอบทความ | |
อภิปราย | |
พื้นที่เตรียมการ | |
กรุ |
ยินดีต้อนรับเข้าสู่หน้าเสนอรู้ไหมว่า ซึ่งจะเป็นเนื้อหาที่ปรากฏบนหน้าหลักของวิกิพีเดีย ในส่วนรู้ไหมว่า โดยผู้ใช้วิกิพีเดียจะนำเนื้อหาที่เสนอตามรายชื่อด้านล่างนี้ไปแสดงผลเป็นระยะ
ในหน้านี้ผู้ใช้ลงทะเบียนทุกคนมีสิทธิเสนอข้อความและทบทวนได้ เนื้อหาที่นำเสนอต้องเป็นบทความสร้างใหม่หรือบทความปรับปรุงใหม่ที่ขยายบทความเดิมอย่างมีนัยสำคัญ สิ่งที่กล่าวถึงเป็นส่วนหนึ่งของเนื้อหาภายในบทความนั้นเอง บทความเก่าแม้ว่าจะมีความน่าสนใจก็ตามถือว่าไม่ผ่านเกณฑ์เพราะหน้านี้มีจุดประสงค์เพื่อแสดงการเปลี่ยนแปลงล่าสุดและส่งเสริมให้มีการแก้ไขบทความอย่างต่อเนื่อง
หลักเกณฑ์บทความ
- ปริมาณเนื้อหา
- เป็นบทความที่เพิ่งสร้างใหม่ ที่มีเนื้อหา (ไม่นับอักขระที่เป็นรหัสต้นฉบับ แม่แบบ ตาราง ฯลฯ) มากกว่า 400 คำ หรือ มีขนาดที่บันทึกไว้ตั้งแต่ 10,000 ไบต์ขึ้นไป (ดูรายชื่อบทความใหม่และรายชื่อบทความที่ต้องการเพื่อประกอบการพิจารณาเสนอบทความที่มีผู้อื่นสร้างไว้แล้วหรือเขียนขึ้นใหม่เอง) หรือ
- เป็นบทความที่มีอยู่เดิมแต่ได้รับการเขียนเพิ่มเติมทำให้ขนาดที่บันทึกในระบบเป็นอย่างน้อยสองเท่าของขนาดเดิม
- ขนาดเดิมหมายถึงขนาดของบทความรุ่นที่เสถียรล่าสุดก่อนการปรับปรุง (การเพิ่มเป็น 2 เท่าที่เกิดขึ้นชั่วคราวทางเทคนิค เช่น การแก้ไขตัดต่อ ย้อนกันไปมาหรือย้อนการก่อนกวน ไม่ควรให้ผ่านเพราะไม่ได้มีเนื้อหาที่เพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าอย่างแท้จริง)
- บทความที่ปรับปรุงแล้วยังต้องมีเนื้อหาไม่น้อยกว่าเงื่อนไขสำหรับบทความใหม่ด้วย (เช่น การเพิ่มจาก 1,000 ไบต์ เป็น 2,000 ไบต์ ไม่ควรให้ผ่านเพราะบทความสุดท้ายก็ยังสั้น เทียบไม่ได้กับบทความใหม่)
- การเสนอบทความดังกล่าวต้องทำภายใน 14 วันนับแต่
- เวลาที่สร้างบทความใหม่ครั้งแรก (กรณีได้สร้างไว้ก่อนในกระบะทรายหรือฉบับร่างจะนับจากเวลาที่ย้ายเข้าสู่เนมสเปซบทความเท่านั้น) หรือ
- เวลาที่เริ่มทำการปรับปรุงบทความให้มีขนาดเพิ่มขึ้นจากรุ่นที่เสถียรล่าสุดก่อนการปรับปรุง
- โดยส่วนใหญ่แล้วบทความต้องผ่านการแก้ไขหลายครั้ง เวลาข้างต้นสำหรับการนับ 14 วันจึงมักไม่ใช่เวลาที่บทความผ่านเงื่อนไขปริมาณ วัตถุประสงค์ที่นับเช่นนี้เพื่อกระตุ้นให้มีการแก้ไขต่อเนื่องให้ได้ปริมาณและคุณภาพที่สมควรภายในเวลา 14 วัน
- ไม่จำกัดว่าบทความต้องเขียนให้ผ่านเกณฑ์โดยคนเดียว สามารถร่วมกันเขียนหรือเสนอโดยอาสาสมัครหลายคนทั้งที่มีบัญชีผู้ใช้และไม่ได้ลงทะเบียนอันเป็นหัวใจหลักสำคัญของสารานุกรมเสรี ทั้งนี้ ผู้ใช้ไม่ลงทะเบียนหรือลงทะเบียนมาใหม่ไม่นานจะไม่สามารถตรวจให้ข้อความผ่านเกณฑ์ได้ แต่มีสิทธิ์ทักท้วงได้
หลักเกณฑ์ข้อความที่เสนอ
- เนื้อหาที่เสนอต้องเป็นไปตามนโยบาย ทั้งมุมมองที่เป็นกลาง และไม่ใช่การประกาศ ปราศรัย โฆษณาชวนเชื่อ ตลอดจนไม่ใช่รายงานข่าว
- สำหรับข่าวหรือเรื่องที่เป็นปัจจุบันโปรดดูที่ {{เรื่องจากข่าว}} ในส่วนรู้ไหมว่ามีการพิจารณาที่นานและระยะเวลาแสดงผลที่ยืดหยุ่นน้อยกว่า
- ข้อความที่เสนอมีความน่าสนใจ ไม่ควรเป็นเพียงการเสนอคำนิยาม
- ข้อความที่เสนอต้องมีแหล่งอ้างอิงที่น่าเชื่อถือกำกับในบทความ และต้องเป็นแหล่งอ้างอิงแทรกในเนื้อหา (inline citation)
- รูปแบบการเสนอควรใช้ข้อความที่สั้น กระชับ และได้ใจความ รวมถึงมีลักษณะที่เขียนต่อจากคำว่า รู้ไหมว่า...
- ในข้อความที่เสนอ
- ทำลิงก์บทความที่เสนอเป็นตัวหน้า จะอยู่ส่วนต้น ส่วนกลาง หรือส่วนท้ายของข้อความก็ได้ตามความเหมาะสม
- อาจทำลิงก์ในส่วนอื่นของข้อความประกอบกันได้ แต่ต้องไม่มีลิงก์แดง (ไม่ควรมีลิงก์ไปบทความอื่นมากเกินไป)
- หากมีภาพประกอบให้ใส่ข้อความ (ในภาพ) ในตำแหน่งที่เหมาะสมด้วย และจะได้รับพิจารณาอยู่ในลำดับแรกของแต่ละคิวเสมอ (แต่ละคิวมีบทความที่มีรูปได้ไม่เกิน 1 บทความเท่านั้น)
แนวทางการพิจารณาข้อความและจัดลำดับบทความเพื่อแสดงผล
- ในแต่ละรอบที่นำขึ้นแสดงผลในหน้าหลักควรมีความหลากหลายของเนื้อหาและผู้เขียน (ต้องมีบัญชีผู้ใช้จึงสร้างหน้าใหม่ได้ แต่ผู้ไม่มีบัญชีผู้ใช้เพิ่มขนาดบทความเป็นสองเท่าได้) หลีกเลี่ยงการนำเรื่องในหมวดหมู่เดียวกันหรือผู้เขียนเดียวกันจัดลงในกลุ่มที่จะแสดงผลคราวเดียวกันเป็นจำนวนมาก
- เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามข้อก่อนหน้า เมื่อพิจารณาข้อความผ่านเกณฑ์แล้ว อาจไม่จัดข้อความนั้นลงในคิวล่าสุดที่ยังไม่เต็มแต่ใส่ลงคิวถัดไปที่เหมาะสมได้แทน คิวถัดไปอาจไม่ใช่คิวที่ติดกันกับคิวที่ล่าสุดที่ยังไม่เต็มหากในคิวถัดไปยังมีความซ้ำซ้อนเกี่ยวกับเนื้อหาหรือผู้เขียน
- การจัดข้อความลงคิวยังคำนึงถึงปัจจัยต่อไปนี้ประกอบกัน ไม่ได้เป็นการห้ามมิให้มีสองบทความในหมวดหมู่เดียวกันหรือผู้เขียนเดียวกันในหนึ่งคิวอย่างเคร่งครัด
- ความเหมาะสมและวัตถุประสงค์ของ DYK ในการส่งเสริมอาสาสมัครวิกิพีเดียโดยหลักถ้อยทีถ้อยอาศัย
- เหตุการณ์ที่เป็นที่สนใจหรือมีความสำคัญแต่ยังไม่ได้แสดงผลในหน้าหลักผ่านช่องทางอื่น
- ความยาวโดยรวมและความเหมาะสมในการแสดงผลร่วมกับองค์ประกอบอื่นของหน้าหลักในขณะนั้น (ปัจจุบันแม่แบบมีขนาดที่บันทึกรหัสต้นฉบับระหว่าง 2,200 ถึง 4,200 ไบต์ หรือ 55-105% ของ 4,000 ไบต์)
- มีการเก็บประวัติการเสนอและพิจารณาข้อความอย่างเป็นระบบ ดังนั้นขอความร่วมมือทุกท่าน ลงชื่อด้วย --~~~~ ท้ายข้อความที่เสนอและการอภิปราย และช่วยกันรวบรวมประวัติไว้มิให้ตกหล่นเมื่อมีการย้ายข้อความไปสู่คิว (และหน้าอภิปรายของคิว) รวมถึงการเก็บข้อเสนอที่ตกไปในหน้าคุยเรื่องวิกิพีเดีย:รู้ไหมว่า/เสนอรู้ไหมว่าโดยแบ่งหัวข้อตามเดือนที่พิจารณาเสร็จสิ้น
ระยะเวลาการแสดงผลในหน้าหลัก
ณ วันสิ้นเดือนของแต่ละเดือนให้คำนึงถึง n เป็นจำนวนคิวที่เต็มแล้วของข้อความ DYK ณ 23:59 น. UTC+7 วันก่อนวันสิ้นเดือน (คิวที่เต็มแล้วหมายถึง 4-6 ชุดข้อความและ 1 รูปภาพที่ผ่านการพิจารณาเป็นรายชิ้นแล้ว รวมถึงผ่านการจัดชุดบทความให้มีความหลากหลายในเชิงเนื้อหาสาระพร้อมนำเสนอในภาพรวมและผ่านเกณฑ์ควบคุมความยาวของเนื้อหาแล้ว วันก่อนวันสิ้นเดือน เช่น เดือนมกราคม หมายถึง 30 มกราคม)
- n = 0 ไม่มีการปรับปรุง DYK ในเดือนถัดไปตลอดทั้งเดือน มีข้อความเชิญชวนให้เสนอบทความ DYK และช่วยกันพิจารณา DYK ตามหลักเกณฑ์ที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งจะแสดงผลเมื่อไม่มีการเปลี่ยนแปลง DYK เกิน 30 วัน (เหตุการณ์นี้อาจเกิดขึ้นได้จากขาดอาสาสมัครพิจารณาข้อเสนอ DYK ไปจัดลงคิวก็ได้ ไม่ใช่เพียงขาดแคลนการเสนอบทความเข้าสู่ DYK) แม้จะมี DYK เข้าคิวสำหรับเดือนใหม่แล้วข้อความเชิญชวนจะแสดงข้ามเดือนต่อไปจนกว่าจะถึงวันที่กำหนดให้แสดงผลครั้งแรก
- 1 ≤ n ≤ 9 ดึงออกมาใช้งานตามจำนวนครั้งด้านล่าง โดยตัดออกจากคิวปัจจุบันออกไปเพื่อทำเป็นแม่แบบรอขึ้นหน้าหลักทันที
- n = 1, 2, 3 เดือนถัดไปจะมีการปรับปรุง DYK ครั้งเดียว ในวันที่ 15 เท่านั้น
- n = 4, 5 เดือนถัดไปจะมีการปรับปรุง DYK สองครั้ง ในวันที่ 8 และ 22 เท่านั้น
- n = 6, 7 เดือนถัดไปจะมีการปรับปรุง DYK สามครั้ง ในวันที่ 5 15 และ 25 เท่านั้น
- n = 8, 9 เดือนถัดไปจะมีการปรับปรุง DYK สี่ครั้ง ในวันที่ 4 11 19 และ 26 เท่านั้น
- หลักคิดคือต้องสำรองเนื้อหาไว้ประมาณหนึ่งเท่าตัว เลี่ยงการปรับปรุงในวันที่ 1 เพราะเป็นวันเปลี่ยนบทความคัดสรรประจำเดือน แต่ยังยึดหลักการพิจารณาคราวเดียวในวันสุดท้ายของเดือนเพื่อให้เกิดความแน่นอนว่าเนื้อหาที่จะแสดงในหน้าหลักในเดือนถัดไปคืออะไร หลักคิดนี้คล้ายกับการจัดการ DYK ของวิกิพีเดียภาษาอังกฤษรวมถึงบทความคัดสรรในวิกิพีเดียภาษาไทย แต่การดำเนินการปรับให้เหมาะกับชุมชนที่มีแรงงานน้อยและมีระยะเวลาการสื่อสารระหว่างกันที่ต้องรอฟังความเห็นกันนานกว่า เดือนหนึ่งมี 28-31 วัน ได้พยายามกระจายวันให้เท่ากันมากที่สุดเท่าที่เป็นไปได้แต่จะไม่เท่ากันเสียทีเดียว
- n ≥ 10 ดูที่ คุยเรื่องวิกิพีเดีย:รู้ไหมว่า/เสนอรู้ไหมว่า/กรุ 1#10 ≤ n ≤ สองเท่าของจำนวนวันในเดือนถัดไป
วิธีดำเนินการมาตรฐานทุกวันสิ้นเดือน
วิธีดำเนินการมาตรฐาน (standard operating procedure หรือ SOP) เป็นลำดับขั้นตอนเพื่อให้สามารถปฏิบัติการได้ครบถ้วนถูกต้องโดยไม่สับสน ไม่ว่าอาสาสมัครท่านใดมารับหน้าที่ดำเนินการ
- จำนวนและวันที่จะแสดงผลเป็นไปตามกติกาข้างต้น (กรณี 10 ≤ n ≤ สองเท่าของจำนวนวันในเดือนถัดไป ดูหน้าพูดคุยเพิ่มเติม) ซึ่งเมื่อได้จำนวนและวันที่แล้วจะตัดคิวด้านล่างออกไปโดยการเปลี่ยนชื่อคิวให้อยู่ในรูปแบบดังนี้ {{รู้ไหมว่า/yyyy-mm-dd}} ซึ่ง mm และ dd เป็นตัวเลขของเดือนในรูปแบบเลขอารบิกที่มีศูนย์นำหน้า
- แก้ไขหน้าเปลี่ยนทางที่เกิดจากการเปลี่ยนชื่อให้เป็นคิวว่างและลบออกจากรายการชั่วคราว (คิวจะเดินไปข้างหน้าเสมอยกเว้นว่าถึงเลขปลายทาง คือ 63 จึงวนกลับมาที่ 1 ใหม่ซ้ำซึ่งได้ทำคิวว่างรอไว้แล้วจากรอบก่อน)
- สรุปรายการคิวบทความและอาสาสมัครผู้เขียนบทความของเดือนล่าสุด พร้อมลงชื่อผู้ดำเนินการ ลงในหน้าเสนอชื่อ (และบันทึกข้อความเดียวกันลงในหน้ากรุด้วย)
- การดำเนินการเพิ่มเติมเพื่อความสมบูรณ์ของกิจกรรม
- ใส่ {{บทความรู้ไหมว่า}} ในหน้าอภิปรายของทุกบทความ
- ส่งข้อความแจ้งผู้เขียนตามข้อ 3 ด้วยข้อความมาตรฐานดังนี้
=={{tl|รู้ไหมว่า/2024-07-15}}==
บทความที่ท่านเขียนจะได้แสดงผลในหน้าหลักของวิกิพีเดียภาษาไทยตามวันที่ระบุไว้ในแม่แบบ {{tl|รู้ไหมว่า}} ข้างต้น ขอขอบคุณที่ท่านร่วมกันแบ่งปันความรู้และหวังว่าท่านจะเป็นส่วนสำคัญในโครงการ [[WP:DYK]] อย่างต่อเนื่องสืบไป --~~~~
สรุป
- กระบวนการเขียนบทความ เสนอข้อความและพิจารณาข้อความขึ้นสู่หน้าหลักในปัจจุบันใช้เวลาทั้งสิ้นประมาณ 2-3 เดือน บทความจะได้แสดงผลในหน้าหลักประมาณ 1 สัปดาห์โดยมีการกดอ่านบทความผ่านหน้าหลักประมาณ 500-1000 ครั้ง ระหว่างช่วงเวลาที่แสดงผล (ข้อมูล ณ สิงหาคม 2567 หลังจัดให้มีระบบที่ชัดเจนเพื่อการบริหารงานและเริ่มอภิปรายเกี่ยวกับกิจกรรมสนับสนุน)
- ชุมชนวิกิพีเดียภาษาไทยมีกระบวนการสนับสนุนกิจกรรมรู้ไหมว่าเพื่อสนับสนุนให้อาสาสมัครเขียนบทความใหม่ที่มีคุณภาพและเกิดความสามัคคีนำไปสู่การประสานงานที่ดีในชุมชนดังนี้
- เหรียญรางวัล DYK สำหรับอาสาสมัครที่มีผลงานสม่ำเสมออาจะได้รับ {{เหรียญรางวัล DYK}} ต่อไป
- วิกิพีเดีย:รู้ไหมว่า/กิจกรรมสนับสนุน พ.ศ. 2567 (1 สิงหาคม 2567 - 30 พฤศจิกายน 2567)
ชุดบทความได้รับกำหนดวันแสดงผลแล้ว
สำหรับบทความที่จะแสดงผลในเดือนมกราคม 2568 มีกำหนดพิจารณาในวันที่ 31 ธันวาคม 2567 (วันสิ้นเดือน) ตั้งแต่เวลา 00:01 น. เป็นต้นไป จากจำนวนคิวที่เต็มแล้วของข้อความ DYK ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2567 (วันก่อนวันสิ้นเดือน) ณ เวลา 23:59 น. UTC+7
- บทความที่ได้รับกำหนดแสดงผลในเดือนธันวาคม 2567 มีดังนี้
[ส่วนนี้ยังรอกระบวนการทำงานแบบอัตโนมัติ] ความถี่การปรับปรุง 6 ครั้ง (วันที่ 3 8 13 19 24 และ 29)
- {{รู้ไหมว่า/2024-12-03}} ความยาวข้อความรวม 1084 อักขระ @Chainwit., Waniosa Amedestir, Swiss Toblerone, Kaoavi, DMS WIKI, และ วณิพก:
- {{รู้ไหมว่า/2024-12-08}} ความยาวข้อความรวม 1078 อักขระ @วณิพก, Chainwit., วณิพก, Waniosa Amedestir, BeckNoDa, และ AmberMUIC:
- {{รู้ไหมว่า/2024-12-13}} ความยาวข้อความรวม 1142 อักขระ @DMS WIKI, Chainwit., Waniosa Amedestir, PhetanNTN, Pomznp, และ Siam2019:
- {{รู้ไหมว่า/2024-12-19}} ความยาวข้อความรวม 895 อักขระ @Kaoavi, Chainwit., Jothefiredragon, Waniosa Amedestir, Tikmok, และ Swiss Toblerone:
- {{รู้ไหมว่า/2024-12-24}} ความยาวข้อความรวม 970 อักขระ @Waniosa Amedestir, Adrich, Chainwit., วณิพก, Bact, และ Quantplinus:
- {{รู้ไหมว่า/2024-12-29}} ความยาวข้อความรวม 964 อักขระ @Waniosa Amedestir, Waniosa Amedestir, Chainwit., Mastertongapollo, Waniosa Amedestir, และ Tikmok:
--Wutkh (คุย) 04:31, 30 พฤศจิกายน 2567 (+07)
- รายการคิวที่เต็มแล้วและความยาวของข้อความที่แสดงผล (นับแต่ตุลาคม 2567 เป็นต้นไปปรับปรุงวิธีการนับใหม่ให้แม่นยำยิ่งขึ้น)
- {{รู้ไหมว่า/คิว 27}} ความยาวข้อความรวม 897 อักขระ
- {{รู้ไหมว่า/คิว 28}} ความยาวข้อความรวม 1246 อักขระ
- {{รู้ไหมว่า/คิว 29}} ความยาวข้อความรวม 872 อักขระ
- {{รู้ไหมว่า/คิว 30}} ความยาวข้อความรวม 822 อักขระ
- {{รู้ไหมว่า/คิว 31}} ความยาวข้อความรวม 1033 อักขระ
- {{รู้ไหมว่า/คิว 32}} ความยาวข้อความรวม 1063 อักขระ
- {{รู้ไหมว่า/คิว 33}} ความยาวข้อความรวม 772 อักขระ
ชุดบทความได้รับการตรวจสอบและจัดชุดแล้ว
- คิวเก่าสุดอยู่ด้านบน ใช้หมายเลข 1 ถึง 63 ไปตามลำดับ เมื่อครบแล้วก็วนซ้ำใหม่จาก 1 อีกครั้ง
- จำเป็นต้องไปถึงเลข 63 ก่อนที่จะวนกลับมาเลข 1 ใหม่ได้เพื่อป้องกันความสับสน (63/2=31 เป็นจำนวนมากที่สุดที่ยังใช้กติกาเพิ่มเติมได้ตามหน้าพูดคุย)
- ไม่จำเป็นต้องแสดง 63 คิวพร้อมกัน แต่ต้องมีคิวว่างเผื่อไว้อย่างน้อย 1 คิวเสมอสำหรับกรณีที่ผู้ตรวจประสงค์จะกระจายบทความออกไม่ให้ซ้ำหมวดและผู้เขียน
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
[[File:|140px | ]]
|
[[File:|140px | ]]
|
[[File:|140px | ]]
|
[[File:|140px | ]]
|
[[File:|140px | ]]
|
|
[[File:|140px | ]]
|
[[File:|140px | ]]
|
|
[[File:|140px | ]]
|
[[File:|140px | ]]
|
[[File:|140px | ]]
|
[[File:|140px | ]]
|
[[File:|140px | ]]
|
[[File:|140px | ]]
|
|
[[File:|140px | ]]
|
[[File:|140px | ]]
|
[[File:|140px | ]]
|
[[File:|140px | ]]
|
[[File:|140px | ]]
|
[[File:|140px | ]]
|
[[File:|140px | ]]
|
เสนอรู้ไหมว่า
- เสนอข้อความใหม่
- เพื่อให้ง่ายต่อการติดตามกรุณาลงชื่อ --~~~~ หลังข้อความที่เสนอด้วย รวมถึงระบุชื่อผู้เขียนหรือผู้แก้ไขหลักไว้ท้ายข้อความที่เสนอและในประวัติการแก้ไข
- กรุณากลับเข้ามาติดตามความเคลื่อนไหวการพิจารณาเป็นระยะข้อความที่เสนอใหม่อาจได้รับการพิจารณาขึ้นสู่คิวทันทีหรือเข้าสู่การอภิปรายด้านล่างภายใต้หัวข้อ รอปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ
- รหัสต้นฉบับของภาพให้ใส่แยกไว้บนสุดเนื่องจากไม่สามารถใส่ประกอบในแต่ละข้อได้โดยไม่เสียลำดับ
- ...คณะผู้แทนจากทิเบตถูกสาธารณรัฐประชาชนจีนตัดการติดต่อกับรัฐบาลที่ลาซา และท้ายที่สุดก็ยอมถูกกดดันจากจีนให้ลงนามในข้อตกลงสิบเจ็ดประเด็นด้วยตราประทับที่ทำขึ้นเพื่อจุดประสงค์นี้โดยเฉพาะ --Chainwit.〈 พูดคุย 〉 01:06, 30 พฤศจิกายน 2567 (+07)
- ...ผู้ชำนาญการด้านอุโมงค์ที่มาทำงานสร้างอุโมงค์รถไฟฟ้าเอ็มอาร์ทีใกล้กับจุดที่โรงแรมนิวเวิลด์ถล่มในสิงคโปร์ ได้ยื่นมือเข้ามาช่วยเจาะอุโมงค์เพื่อกู้ภัยผู้ที่ติดอยู่ในซากอาคาร --Chainwit.〈 พูดคุย 〉 01:06, 30 พฤศจิกายน 2567 (+07)
- ...ภาษาอุยกูร์เก่าไม่ได้สืบทอดมาเป็นภาษาอุยกูร์ซึ่งเป็นภาษาราชการของเขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ โดยมีที่มาจากกลุ่มภาษาเตอร์กิกทั่วไปต่างกลุ่มย่อยกัน --Siam2019 (คุย) 19:25, 30 พฤศจิกายน 2567 (+07)
- ...อาวาโมริซึ่งเป็นสุรากลั่นจากโอกินาวะ ประเทศญี่ปุ่น มีต้นกำเนิดมาจากสุราขาวของไทย--062 (คุย) 23:20, 30 พฤศจิกายน 2567 (+07)
- ...ในปัจจุบัน ชื่อของลูกสาวผู้นำสูงสุด คิม จ็อง-อึน ยังไม่ถูกเปิดเผยอย่างเป็นทางการ --ร้อยตรี โชคดี (คุย) 23:32, 30 พฤศจิกายน 2567 (+07)
- ...จักรพรรดิชูไอเป็นจักรพรรดิญี่ปุ่นพระองค์แรกที่ขึ้นครองราชย์โดยไม่ได้เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิองค์ก่อน แต่เป็นพระราชนัดดาในจักรพรรดิเซมุ (บทความโดยผู้ใช้ไม่ระบุตัวตน 171.96.170.79 / ทำให้เป็นสองเท่าโดย Waniosa Amedestir) --Waniosa Amedestir (คุย) 21:00, 2 ธันวาคม 2567 (+07)
- ...
- ...
- รอปรับปรุงตามข้อเสนอแนะนำ
- เพื่อให้ง่ายต่อการติดตามกรุณาลงชื่อ --~~~~ หลังข้อความที่อภิปราย และไม่แก้ไขข้อความที่ได้เขียนไว้ก่อนแล้วของตนเองหรือผู้อื่น
- หากไม่ได้รับการปรับปรุงจากผู้เสนอภายใน 7 วันจะถือว่าการเสนอนั้นตกไป และเก็บรวบรวมไว้ในหน้าอภิปรายที่ คุยเรื่องวิกิพีเดีย:รู้ไหมว่า/เสนอรู้ไหมว่า
- ผู้เสนอข้อความสามารถถอนข้อเสนอได้โดยย้ายข้อความไปก่อนครบกำหนด 7 วันหรือก่อนจะมีผู้อื่นมาย้ายให้ก็ได้
- ...มีการเสนอว่าเทวรูปอากูซัน (ในภาพ) ซึ่งไม่สามารถระบุว่าเป็นเทพเจ้าอะไรได้อย่างแน่ชัด ว่าอาจจะเป็นเทวีในนิกายไศวะของศาสนาฮินดูที่ช่างศิลป์ฟิลิปปินส์คัดลอกมุทราจากของเดิมมาผิด --Chainwit.〈 พูดคุย 〉 10:02, 19 พฤศจิกายน 2567 (+07)
- @Chainwit.: ไม่สามารถเข้าถึงแหล่งที่มาที่อ้างถึงได้ครับ แต่อาจเป็นข้อจำกัดฝ่ายผม อย่างไรถ้ายืนยันแหล่งที่มาอีกครั้งหนึ่งจะพิจารณาให้ผ่านได้ครับ --Wutkh (คุย) 00:43, 25 พฤศจิกายน 2567 (+07)
- ...ไมโครดอท (ในภาพ) คือตัวหนังสือหรือรูปภาพที่ถูกนำมาลดขนาด เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้คนทั่วไปสามารถอ่านหรือดูได้ ไมโครดอทโดยทั่วไปจะมีรูปแบบเป็นทรงกลมและมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 มิลลิเมตร (0.039 นิ้ว) แต่บางครั้งไมโครดอทสามารถมีรูปทรง ขนาด และ ทำจากวัสดุได้หลากหลาย เช่น ผ้าจากเส้นใยสังเคราะห์ หรือเหล็ก (บทความโดย MarkYay)--MarkYay (คุย) 22:44, 24 พฤศจิกายน 2567 (+07)
- ผมช่วยดึงการเสนอภาพกลับมาด้วย โดยใส่ภาพไว้บนสุดเพื่อไม่ให้เสียลำดับ --Taweethaも (คุย) 07:50, 25 พฤศจิกายน 2567 (+07)
- ขอบคุณครับ --Wutkh (คุย) 05:15, 28 พฤศจิกายน 2567 (+07)
- @MarkYay: หัวข้อน่าสนใจมากครับ (ก่อนที่คุณเสนอมา ผมดันดูยูทูบเรื่องนี้พอดี แหะ ๆ) แต่เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐาน ขอให้เลี่ยงการเสนอนิยาม (ไมโครดอท คือ ตัวหนังสือ...) / ใช้คำตามชื่อบทความ คือ ไมโครดอ"ต" ไม่ใช่ ไมโครดอ"ท" ตามหลักการทับศัพท์ / เลือกข้อเท็จจริงบนบทความที่มีอ้างอิงในบรรทัดเพื่อให้ผู้ตรวจตรวจสอบข้อเท็จจริงได้นะครับ --Wutkh (คุย) 05:15, 28 พฤศจิกายน 2567 (+07)
- ขอบคุณสำหรับคำแนะนำครับ MarkYay (คุย) 19:35, 29 พฤศจิกายน 2567 (+07)
- ในปี ค.ศ. 1870 ช่วงสงคราม สงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย, ปารีส ถูกโจมตี และข้อความถูกส่งโดย Homing pigeon ช่างถ่ายภาพชาวปารีส René Dagron ใช้ Microform เพื่อให้นกพิราบแต่ละตัวสามารถเก็บข้อความได้จำนวนมาก เพราะนกพิราบแต่ละตัวสามารถรับน้ำหนักได้น้อย MarkYay (คุย) 19:47, 29 พฤศจิกายน 2567 (+07)
- ระหว่างการโจมตีปารีสในสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซียเมื่อ ค.ศ. 1870 ช่างภาพชาวปารีสคนหนึ่งใช้นกพิราบสื่อสารส่งข้อความด้วยไมโครดอต (ในภาพ) เพื่อให้ส่งข้อความได้ครั้งละมาก ๆ / @MarkYay: เสนอปรับแก้ข้อความครับ --Wutkh (คุย) 01:23, 2 ธันวาคม 2567 (+07)
- ผมช่วยดึงการเสนอภาพกลับมาด้วย โดยใส่ภาพไว้บนสุดเพื่อไม่ให้เสียลำดับ --Taweethaも (คุย) 07:50, 25 พฤศจิกายน 2567 (+07)
- ...ชายที่รวยที่สุดอันดับสองของอินเดีย เคาตมะ อทาณี ถูกกล่าวหาว่าเป็นบุคคลใกล้ชิดของนายกรัฐมนตรี นเรนทระ โมที และกับพรรคบีเจพีผู้นำรัฐบาล ซึ่งนำไปสู่ข้อกล่าวหาการเล่นพรรคเล่นพวก --Chainwit.〈 พูดคุย 〉 01:06, 30 พฤศจิกายน 2567 (+07)
- @Chainwit.: ไม่มีข้อมูลเหล่านี้ในแหล่งอ้างอิงอินไลน์ครับ
- รวยที่สุดอันดับสองของอินเดีย
- ใกล้ชิดกับพรรคบีเจพี --Tikmok (คุย) 13:50, 30 พฤศจิกายน 2567 (+07)
- @Chainwit.: ไม่มีข้อมูลเหล่านี้ในแหล่งอ้างอิงอินไลน์ครับ
- ...สารหน่วงไฟ เป็นสารเคมีที่ถูกนำมาใช้เพื่อเพิ่มความปลอดภัยจากการลุกไหม้ของวัสดุต่าง ๆ เช่น พลาสติก ผ้า หรือวัสดุก่อสร้าง โดยมีคุณสมบัติช่วยชะลอหรือหยุดการลุกลามของไฟ --Mia Kato (Mia Kato) 17:41, 2 ธันวาคม 2567
- @Mia Kato: ปกติจะไม่ใช้ข้อเสนอในเชิงนิยามของชื่อบทความนะครับ ให้เสนอข้อความอื่นครับ น่าจะมีเยอะนะครับบทความนี้ / อย่างลืมเซ็นลายเซ็นด้วยนะครับ --Tikmok (คุย) 18:08, 2 ธันวาคม 2567 (+07)
- ...การใช้สารหน่วงไฟในอุตสาหกรรมช่วยเพิ่มความปลอดภัยในกรณีเกิดเพลิงไหม้ แต่ในขณะเดียวกันก็มีข้อกังวลเกี่ยวกับผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะสารฮาโลเจนที่อาจสะสมในธรรมชาติและเป็นพิษต่อระบบนิเวศ ในปัจจุบันจึงมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาสารหน่วงไฟชนิดใหม่ที่มีความปลอดภัยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น รวมถึงการออกกฎระเบียบควบคุมการใช้งานในหลายประเทศ -- Mia Kato (คุย) 20:52, 2 ธันวาคม 2024
- @Mia Kato:จากการตรวจสอบการอ้างอิงที่ระบุในบทความ พบว่า ส่วนที่ตรวจสอบไม่ถูกต้องทั้งหมด คือ หาแหล่งอ้างอิงตามชื่อ/ผู้เขียนไม่ได้ เลข DOI ไม่มีหรือไม่ใช่เอกสารที่ระบุ ผมไม่ทราบว่าได้แหล่งอ้างอิงที่ระบุมาจากไหน บทความวิกิอังกฤษก็ไม่มีนะครับ น่าจะแก้จุดนี้ทั้งบทความให้ดีก่อนครับ / แหล่งอ้างอิงในบทความที่ตรวจสอบแล้วพบว่าผิดพลาดรวมทั้ง
- McDonald, T.A. (2002). "Health risks of brominated flame retardants". Environmental Health Perspectives. 110: 517–528. doi:10.1289/ehp.02110517.
- Stec, A.A., Hull, T.R. (2011). "Toxic emissions from flame-retarded materials". Chemosphere. 85: 479–487. doi:10.1016/j.chemosphere.2011.06.076.
{{cite journal}}
: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์) - de Wit, C.A. (2002). "Environmental distribution of flame retardants and their transformation products". Chemosphere. 46: 583–624. doi:10.1016/S0045-6535(01)00239-6.
- ลายเซ็นให้ลงแบบนี้นะครับ
--~~~~
- โดยมากแล้ว ไม่ควรปรับข้อความที่เขียนโต้ตอบกับคนอื่นนะครับ ให้เพิ่มแต่อย่างไปปรับข้อความเดิม --Tikmok (คุย) 04:03, 3 ธันวาคม 2567 (+07)
- @Mia Kato:จากการตรวจสอบการอ้างอิงที่ระบุในบทความ พบว่า ส่วนที่ตรวจสอบไม่ถูกต้องทั้งหมด คือ หาแหล่งอ้างอิงตามชื่อ/ผู้เขียนไม่ได้ เลข DOI ไม่มีหรือไม่ใช่เอกสารที่ระบุ ผมไม่ทราบว่าได้แหล่งอ้างอิงที่ระบุมาจากไหน บทความวิกิอังกฤษก็ไม่มีนะครับ น่าจะแก้จุดนี้ทั้งบทความให้ดีก่อนครับ / แหล่งอ้างอิงในบทความที่ตรวจสอบแล้วพบว่าผิดพลาดรวมทั้ง
- ...การใช้สารหน่วงไฟในอุตสาหกรรมช่วยเพิ่มความปลอดภัยในกรณีเกิดเพลิงไหม้ แต่ในขณะเดียวกันก็มีข้อกังวลเกี่ยวกับผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะสารฮาโลเจนที่อาจสะสมในธรรมชาติและเป็นพิษต่อระบบนิเวศ ในปัจจุบันจึงมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาสารหน่วงไฟชนิดใหม่ที่มีความปลอดภัยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น รวมถึงการออกกฎระเบียบควบคุมการใช้งานในหลายประเทศ -- Mia Kato (คุย) 20:52, 2 ธันวาคม 2024
- @Mia Kato: ปกติจะไม่ใช้ข้อเสนอในเชิงนิยามของชื่อบทความนะครับ ให้เสนอข้อความอื่นครับ น่าจะมีเยอะนะครับบทความนี้ / อย่างลืมเซ็นลายเซ็นด้วยนะครับ --Tikmok (คุย) 18:08, 2 ธันวาคม 2567 (+07)