ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดสมุทรปราการในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดสมุทรปราการในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

← พ.ศ. 2549 (โมฆะ) 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2554 →

7 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ73.33%
  First party Second party
 
พรรค พลังประชาชน ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 0 0
ที่นั่งที่ชนะ 7 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น7 Steady0
คะแนนเสียง 235,239 223,405
% 43.51 41.32

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

สุรยุทธ์ จุลานนท์
อิสระ (คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สมัคร สุนทรเวช
พลังประชาชน

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ พ.ศ. 2550 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง[1] มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 7 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2549 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2 และ 3)

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน (รวมทั้งจังหวัดสมุทรปราการ)

[แก้]
พรรค คะแนนเสียง
จน. % +/–
พลังประชาชน 235,239 43.51% ลดลง22.09%
ประชาธิปัตย์ 223,405 41.32% เพิ่มขึ้น23.71%
อื่น ๆ 82,060 15.17% ลดลง1.62%
ผลรวม 540,704 100.00%
  • คะแนนเลือกตั้งแบบสัดส่วนเปรียบเทียบจากผลคะแนนเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อเมื่อปี พ.ศ. 2548
  • คะแนนเลือกตั้งแบบสัดส่วนพรรคพลังประชาชนเปรียบเทียบจากผลรวมคะแนนเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อของพรรคพลังประชาชน (เดิม) และพรรคไทยรักไทย
คะแนนเสียง
พลังประชาชน
  
43.51%
ประชาธิปัตย์
  
41.32%
อื่น ๆ
  
15.17%

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน (รายเขตเลือกตั้ง)

[แก้]
เขตการเลือกตั้ง พลังประชาชน ประชาธิปัตย์ อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง ส.ส.แบ่งเขต
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 100,849 43.26% 98,025 42.05% 34,234 14.69% 233,108 100.00% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
เขต 2 65,663 42.44% 66,649 43.08% 22,413 14.48% 154,725 100.00% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
เขต 3 68,727 44.96% 58,731 38.42% 25,413 16.62% 152,871 100.00% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
ผลรวม 235,239 43.51% 223,405 41.32% 82,060 15.17% 540,704 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดสมุทรปราการ)

[แก้]
พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
ที่นั่ง
จน. +/– %
พลังประชาชน 7 7 เพิ่มขึ้น7 100.00%
ประชาธิปัตย์ 7 0 Steady0 0.00%
ไทยรักไทย ลดลง7 0.00%
อื่น ๆ 48 0 Steady 0.00%
ผลรวม 62 7 Steady 100.00%
ที่นั่ง
พลังประชาชน
  
100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)

[แก้]
เขตการเลือกตั้ง ลำดับ คะแนนที่ได้รับ ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง %
เขต 1 1 83,271 35.53% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
2 82,828 35.34% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
3 82,773 35.32% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
เขต 2 1 60,735 39.60% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
2 46,139 30.09% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
เขต 3 1 68,241 44.96% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
2 41,347 27.24% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน

[แก้]

คะแนนรวมทั้งหมดในกลุ่มจังหวัดที่ 6

[แก้]

กลุ่มจังหวัดที่ 6 ประกอบไปด้วยกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี และจังหวัดสมุทรปราการ

 •  ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 6
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 84,547 2.26
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 21,757 0.58
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3)
ประชาธิปัตย์ (4) 1,889,988 50.61
พลังเกษตรกร (5) 5,386 0.14
รักเมืองไทย (6) 3,379 0.09
แรงงาน (7) 4,323 0.12
เกษตรกรไทย (8) 3,765 0.10
ประชาราช (9) 19,019 0.51
นิติศาสตร์ไทย (10) 6,730 0.18
พัฒนาประชาธิปไตย (11)
พลังประชาชน (12) 1,545,743 41.39
ชาติไทย (13) 64,290 1.72
ดำรงไทย (14)
มัชฌิมาธิปไตย (15) 46,584 1.25
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 6,990 0.19
ประชากรไทย (18) 8,299 0.22
ประชามติ (19) 4,639 0.12
ไทเป็นไท (20) 3,558 0.10
พลังแผ่นดินไท (21) 4,389 0.12
มหาชน (22) 2,248 0.06
คุณธรรม (23) 1,126 0.03
ราษฎรรักไทย (24)
กฤษไทยมั่นคง (25) 577 0.02
อยู่ดีมีสุข (26) 973 0.03
ไทยร่ำรวย (27) 3,269 0.09
เอกราช (28)
พลังแผ่นดิน (29)
สังคมธิปไตย (30) 1,216 0.03
นำวิถี (31) 1,644 0.04
บัตรดี 3,734,443 92.54
บัตรเสีย 130,865 3.24
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 170,341 4.22
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 4,035,649 70.63
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 5,713,878 100.00

ผู้สมัครได้รับการเลือกตั้งในกลุ่มจังหวัดที่ 6

[แก้]

แต่ละกลุ่มจังหวัดมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกลุ่มละ 10 คน สำหรับกลุ่มจังหวัดที่ 6 แบ่งออกเป็นตามสัดส่วนคะแนนดังนี้

พรรคการเมือง รายชื่อผู้สมัคร
พรรคประชาธิปัตย์ อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
เจริญ คันธวงศ์
หม่อมราชวงศ์ สุขุมพันธุ์ บริพัตร
ผุสดี ตามไท
ประกอบ จิรกิติ
พรรคพลังประชาชน สมัคร สุนทรเวช
ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง
มิ่งขวัญ แสงสุวรรณ์
จตุพร พรหมพันธุ์
พรรคเพื่อแผ่นดิน หม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา ไชยันต์

คะแนนรวมเฉพาะจังหวัดสมุทรปราการ

[แก้]
 •  ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน จังหวัดสมุทรปราการ
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 41,047 7.59
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 3,064 0.57
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3)
ประชาธิปัตย์ (4) 223,405 41.32
พลังเกษตรกร (5) 2,658 0.49
รักเมืองไทย (6) 1,242 0.23
แรงงาน (7) 2,033 0.38
เกษตรกรไทย (8) 947 0.18
ประชาราช (9) 2,913 0.54
นิติศาสตร์ไทย (10) 1,751 0.32
พัฒนาประชาธิปไตย (11)
พลังประชาชน (12) 235,239 43.51
ชาติไทย (13) 11,972 2.21
ดำรงไทย (14)
มัชฌิมาธิปไตย (15) 5,216 0.97
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 3,213 0.59
ประชากรไทย (18) 1,774 0.33
ประชามติ (19) 627 0.12
ไทเป็นไท (20) 634 0.12
พลังแผ่นดินไท (21) 989 0.18
มหาชน (22) 493 0.09
คุณธรรม (23) 237 0.04
ราษฎรรักไทย (24)
กฤษไทยมั่นคง (25) 94 0.02
อยู่ดีมีสุข (26) 173 0.03
ไทยร่ำรวย (27) 503 0.09
เอกราช (28)
พลังแผ่นดิน (29)
สังคมธิปไตย (30) 211 0.04
นำวิถี (31) 269 0.05
บัตรดี 540,704 91.12
บัตรเสีย 27,850 4.69
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 24,863 4.19
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 593,417 73.33
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 809,291 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองสมุทรปราการ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดสมุทรปราการ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชาชน อนุสรา ยังตรง (11) 83,271 35.53
พลังประชาชน ประเสริฐ ชัยกิจเด่นนภาลัย (12)* 82,828 35.34
พลังประชาชน สงคราม กิจเลิศไพโรจน์ (10)* 82,773 35.32
ประชาธิปัตย์ พลตำรวจโท เผ่าไทย ทองธิว (7) 74,115 31.62
ประชาธิปัตย์ สรชา วีรชาติวัฒนา (9) 71,428 30.48
ประชาธิปัตย์ จรูญ ยังประภากร (8) 70,833 30.22
เพื่อแผ่นดิน ชนม์สวัสดิ์ อัศวเหม (4) 54,998 23.47
เพื่อแผ่นดิน ประเมิน นาคดี (6) 49,726 21.22
เพื่อแผ่นดิน ประดิษฐ ยั่งยืน (5)✔ 47,096 20.10
ชาติไทย ประเทือง แสงสังข์ (1) 23,881 10.19
มัชฌิมาธิปไตย เบาหวิว มณีแจ่ม (13) 7,134 3.04
ชาติไทย อำนาจ นาสนม (3) 3,436 1.47
ชาติไทย สมพงษ์ กิจสกุล (2) 3,427 1.46
มัชฌิมาธิปไตย ประภัสสร สันติวิชช์ (14) 2,801 1.20
มัชฌิมาธิปไตย พิสุทธิ์ อำนาจวรประเสริฐ (15) 1,624 0.69
รวมใจไทยชาติพัฒนา ศิลา ทองคำ (22) 1,067 0.46
ประชากรไทย อัฉราพรรณ ศิริวาลย์ (17) 762 0.33
ประชากรไทย พิทยา หงษ์แก้ว (18) 728 0.31
ประชากรไทย นพพล คงเขียว (16) 713 0.30
ประชามติ สมชาย จันฮวด (29) 652 0.28
ไทยร่ำรวย เอกชัย ธรรมสันติบวร (19) 639 0.27
รวมใจไทยชาติพัฒนา อุชาลา นิ่มสุข (23) 509 0.22
ไทยร่ำรวย ดำริ เมืองเรือง (20) 486 0.21
ประชามติ ไสว เกตุแก้ว (30) 407 0.17
รวมใจไทยชาติพัฒนา ประเสริฐ โพธิ์พันธ์ (14) 377 0.16
ประชาราช ประเสริฐ สิงห์เรือง (25) 349 0.15
ประชาราช สุชิน สิงห์สูง (26) 250 0.11
ประชาราช วีระชัยทัฎน์ เพ็ชร (27) 214 0.09
ประชามติ สิริพงศ์ จีนมณี (28) 161 0.07
บัตรดี 234,370 91.72
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 17,115 6.70
บัตรเสีย 4,039 1.58
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 255,524 72.68
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 351,589 100.00
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอบางพลี อำเภอบางเสาธง และอำเภอบางบ่อ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดสมุทรปราการ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชาชน นที สุทินเผือก (4) 60,735 39.60
พลังประชาชน จิรพันธ์ ลิ้มสกุลศิริรัตน์ (3)* 46,139 30.09
ประชาธิปัตย์ เกรียงศักดิ์ บุญประเสริฐ (8) 37,025 24.14
ประชาธิปัตย์ สุวัจชัย ฉัตรชุมสาย (7) 36,931 24.08
ชาติไทย สลิลทิพย์ ชัยสดมภ์ (1)* 33,326 21.73
เพื่อแผ่นดิน มั่น พัธโนทัย (17)✔ 31,202 20.35
เพื่อแผ่นดิน อัญชลี ไพรีรัก (18) 14,007 9.13
ชาติไทย จิตรวิวัฒน์ เพิ่มพูนอนันต์ชัย (2) 5,848 3.81
มัชฌิมาธิปไตย พิเชษฐ์ รอดศรีชินเดช (11) 5,410 3.53
มัชฌิมาธิปไตย จันทนา อินทฉิม (12) 4,803 3.13
ประชาราช พล พร้อมสมุด (9) 1,586 1.03
ประชากรไทย ธนภัทร โกสิทธิ์ (6) 1,448 0.94
ประชามติ เจริญ มาศภมร (16) 894 0.58
ไทยร่ำรวย พรเทพ สุรยะยานนท์ (13) 858 0.56
ประชามติ นัฐวุฒิ อัมพรศักดิ์ (15) 784 0.51
ประชาราช จิราภรณ์ โลหะนันทชัย (10) 727 0.47
ไทยร่ำรวย ทนงศักดิ์ ภู่ทรัพย์สุวรรณ (14) 630 0.41
บัตรดี 153,357 90.40
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 10,569 6.23
บัตรเสีย 5,716 3.37
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 169,642 72.46
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 234,133 100.00
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอพระประแดง และอำเภอพระสมุทรเจดีย์

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดสมุทรปราการ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชาชน ประชา ประสพดี (1)* 68,241 44.96
พลังประชาชน นฤมล ธารดำรงค์ (2) 41,347 27.24
ชาติไทย เรวดี รัศมิทัต (5)* 36,997 24.37
เพื่อแผ่นดิน พูลผล อัศวเหม (3)✔ 36,256 23.89
ประชาธิปัตย์ สมยศ ประกอบผล (7) 33,023 21.76
ประชาธิปัตย์ ศิลากร กุลเจริญ (8) 27,449 18.08
เพื่อแผ่นดิน สุภา เม่นมิ่ง (4) 25,842 17.02
ไทยร่ำรวย ยูซบ อับดุลเลาะห์ (12) 3,904 2.57
ชาติไทย พันจ่าเอก สินชัย พูนจำเนิน (6) 3,153 2.08
มัชฌิมาธิปไตย จักรกฤษณ์ พุกพิบูลย์ (9) 2,046 1.35
มัชฌิมาธิปไตย สมชาย เจนชัยจิตรวนิช (10) 972 0.64
ประชามติ ชิตตพล ชูอารมย์ (13) 663 0.44
ไทยร่ำรวย ธัญญารัตน์ พลอยสีสวย (11) 531 0.35
ประชามติ กนกพล โรจน์อนนท์ (14) 285 0.19
บัตรดี 151,797 90.21
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 10,744 6.39
บัตรเสีย 5,726 3.40
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 168,267 75.26
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 223,569 100.00
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูลสถิติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2550". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-06. สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)