ชานไห่จิง
หน้าตา
ชานไห่จิง | |||||||||||||||||||
อักษรจีนตัวเต็ม | 山海經 | ||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
อักษรจีนตัวย่อ | 山海经 | ||||||||||||||||||
ความหมายตามตัวอักษร | "ตำราภูเขาทะเล" | ||||||||||||||||||
|
ชานไห่จิง เป็นตำราคลาสสิกจีนซึ่งประมวลภูมิประเทศและสัตว์ในตำนานเอาไว้[1][2] ฉบับต่าง ๆ ของตำรานี้อาจมีมาตั้งแต่ 400 ปีก่อนคริสตกาลแล้ว[3][4] แต่รูปแบบปัจจุบันนั้นเพิ่งมีขึ้นในหลายร้อยปีให้หลัง อันตรงกับต้นราชวงศ์ฮั่น[4] ตำรานี้แบ่งเนื้อหาเป็น 18 ส่วน[ต้องการอ้างอิง] ส่วนใหญ่บรรยายภูมิประเทศและวัฒนธรรมก่อนสมัยราชวงศ์ฉินซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นนิทาน มีการเอ่ยถึงภูเขากว่า 550 แห่ง และทางน้ำอีกกว่า 300 แห่ง[ต้องการอ้างอิง] นอกจากนี้ยังรวบรวมเรื่องปรัมปราจีนไว้ด้วย[ต้องการอ้างอิง]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Lewis, Mark Edward (2006). The Flood Myths of Early China. State University of New York. p. 64. ISBN 978-0-7914-6663-6.
- ↑ Mark Edward Lewis (2009). China's Cosmopolitan Empire: the Tang dynasty, Vol. 4 (illustrated ed.). Harvard University Press. p. 202. ISBN 978-0-674-03306-1. สืบค้นเมื่อ February 8, 2012.
- ↑ Leo Bagrow, R. & A. Skelton (2009). History of cartography. Transaction Publishers. p. 204. ISBN 978-1-4128-1154-5.
- ↑ 4.0 4.1 Lust, John (1996). Chinese popular prints. Brill Publishers. p. 301. ISBN 90-04-10472-0.