ข้ามไปเนื้อหา

ปาเลสไตน์ในอาณัติ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ปาเลสไตน์ในอาณัติ

1920–1948
ตราแผ่นดินของปาเลสไตน์ในอาณัติ
ตราแผ่นดิน
ปาเลสไตน์ในอาณัติใน ค.ศ. 1946
ปาเลสไตน์ในอาณัติใน ค.ศ. 1946
สถานะอาณาเขตในอาณัติของสหราชอาณาจักร
เมืองหลวงเยรูซาเลม
ภาษาทั่วไปอังกฤษ, อาหรับ, ฮีบรู
ศาสนา
อิสลาม, ยูดาห์, คริสต์, บาไฮ, ดรูซ
ข้าหลวงใหญ่ 
• 1920–1925 (คนแรก)
เซอร์ เฮอร์เบิร์ต แอล. ซามูเอล
• 1945–1948 (สุดท้าย)
เซอร์ อลัน คันนิงแฮม
สภานิติบัญญัติ
• สภาสังคมมุสลิม
สภามุสลิมสูงสุด
• สภาสังคมยิว
สภาผู้แทนราษฎร
ยุคประวัติศาสตร์สมัยระหว่างสงคราม, สงครามโลกครั้งที่สอง, สงครามเย็น
• ลงนามสัญญา
25 เมษายน 1920
• อังกฤษถือครองอย่างเป็นทางการ
29 กันยายน ค.ศ. 1923
14 พฤษภาคม 1948
สกุลเงินปอนด์อียิปต์
(จนถึง ค.ศ. 1927)
ปอนด์ปาเลสไตน์
(ตั้งแต่ ค.ศ. 1927)
ก่อนหน้า
ถัดไป
Occupied Enemy Territory Administration
ประเทศอิสราเอล
การผนวกเวสต์แบงก์ของจอร์แดน
รัฐในอารักขาปาเลสไตน์ทั้งหมด
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของประเทศอิสราเอล
รัฐปาเลสไตน์

ปาเลสไตน์ในอาณัติ (อังกฤษ: Mandatory Palestine;[1] อาหรับ: فلسطين; ฮีบรู: פָּלֶשְׂתִּינָה (א"י) Pālēśtīnā (E.Y.), ซึ่ง "E.Y." ย่อจาก Ērētz Yīśrā'ēl, ดินแดนของอิสราเอล) เป็นหน่วยภูมิรัฐศาสตร์ ภายใต้การดูแลของสหราชอาณาจักร ในส่วนที่เป็นเขตจักรวรรดิออตโตมันและซีเรียตอนใต้ ภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 ระหว่าง พ.ศ. 2463 จนถึง 2491

ชื่อ

[แก้]
เหรียญเงินปาเลสไตน์ ค.ศ. 1927
ตราไปรษณียากร ค.ศ. 1928
เหรียญเงินปาเลสไตน์ ค.ศ. 1941
"ปาเลสไตน์" ในภาษาอังกฤษ (อังกฤษ: Palestine) ภาษาอาหรับ (อาหรับ: فلسطين) และภาษาฮีบรู (ฮีบรู: פָּלֶשְׂתִּינָה (א"י) ‎) ภาษาสุดท้ายมีอักษรย่อ א״י สำหรับ Eretz Yisrael (ดินแดนอิสราเอล)

ชื่อดินแดนในอาณัตินี้คือ "ปาเลสไตน์" เพื่อสอดคล้องกับการใช้งานของชาวอาหรับปาเลสไตน์และออตโตมัน[2][3][4][5] กฎบัตรอาณัติระบุว่าปาเลสไตน์ในอาณัติมีภาษาราชการสามภาษาคืออังกฤษ, อาหรับ และฮีบรู

ส่วนคำว่า "อาณัติ" สื่อถึงสถานะทางกฎหมายจากดินแดนในอาณัติของสันนิบาตชาติ ซึ่งไม่มีความเกี่ยวข้องกับคำที่ใช้กันทั่วไปที่มีความหมายพ้องกันอย่าง "ภาคบังคับ" หรือ "จำเป็น"[6]

ประวัติศาสตร์

[แก้]

การถ่ายโอนอำนาจบริหารจากทหารสู่พลเรือน

[แก้]

วิกฤติการณ์อาหรับ ค.ศ. 1930

[แก้]

การปฏิวัติอาหรับ

[แก้]
Arab resistance against the British.

สงครามโลกครั้งที่ 2

[แก้]

การรบระหว่าง พันธมิตร และ อักษะ

[แก้]

ฮอโลคอสต์ และ การจำกัดผู้อพยพ

[แก้]

สิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2: การแบ่งดินแดน

[แก้]

การเมืองการปกครอง

[แก้]

รัฐบาล

[แก้]

เศรษฐกิจ

[แก้]

การศึกษา

[แก้]

อัตราการรู้หนังสือ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "League of Nations decision confirming the Principal Allied Powers' agreement on the territory of Palestine". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 November 2013.
  2. Nur Masalha (2018). Palestine: A Four Thousand Year History. Zed. ISBN 978-1-78699-272-7. Chapter 9: Being Palestine, becoming Palestine, p. 287: "the sense of continuity between the ancient, medieval and modern political geography and naming traditions of Palestine eventually came into play in the designation of the British Mandatory Government of Palestine". The preceding pages, p.259-287, document in detail the usage of the term Palestine by native Palestinians from the moment the printing press was introduced into the area in the late 19th century.
  3. Khalidi 1997, pp. 151–152.
  4. Büssow, Johann (11 August 2011). Hamidian Palestine: Politics and Society in the District of Jerusalem 1872–1908. BRILL. p. 5. ISBN 978-90-04-20569-7. สืบค้นเมื่อ 17 May 2013.
  5. |The 1915 Filastin Risalesi ("Palestine Document") is a country survey of the VIII Corps of the Ottoman Army, which identified Palestine as a region including the sanjaqs of Akka (the Galilee), the Sanjaq of Nablus, and the Sanjaq of Jerusalem (Kudus Sherif), see Ottoman Conceptions of Palestine-Part 2: Ethnography and Cartography, Salim Tamari
  6. Rayman, Noah (29 September 2014). "Mandatory Palestine: What It Was and Why It Matters". Time. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 May 2020.

บรรณานุกรม

[แก้]

อ่านเพิ่ม

[แก้]
  • Bar-Yosef, Eitan. "Bonding with the British: Colonial Nostalgia and the Idealization of Mandatory Palestine in Israeli Literature and Culture after 1967." Jewish Social Studies 22.3 (2017): 1–37. online
  • Cohen, Michael J. Britain's Moment in Palestine: Retrospect and Perspectives, 1917–1948 (2014)
  • El-Eini, Roza. Mandated landscape: British imperial rule in Palestine 1929–1948 (Routledge, 2004).
  • Galnoor, Itzhak. Partition of Palestine, The: Decision Crossroads in the Zionist Movement (SUNY Press, 2012).
  • Hanna, Paul Lamont, "British Policy in Palestine", Washington, D.C., American Council on Public Affairs, (1942)
  • Harris, Kenneth. Attlee (1982) pp 388–400.
  • Kamel, Lorenzo. "Whose Land? Land Tenure in Late Nineteenth- and Early Twentieth-Century Palestine", "British Journal of Middle Eastern studies" (April 2014), 41, 2, pp. 230–242.
  • Miller, Rory, ed. Britain, Palestine and Empire: The Mandate Years (2010)
  • Morgan, Kenneth O.The People's Peace: British history 1945 – 1990 (1992) 49–52.
  • Ravndal, Ellen Jenny. "Exit Britain: British Withdrawal From the Palestine Mandate in the Early Cold War, 1947–1948," Diplomacy and Statecraft, (Sept 2010) 21#3 pp. 416–433.
  • Roberts, Nicholas E. "Re‐Remembering the Mandate: Historiographical Debates and Revisionist History in the Study of British Palestine." History Compass 9.3 (2011): 215–230. online[ลิงก์เสีย].
  • Sargent, Andrew. " The British Labour Party and Palestine 1917–1949" (PhD thesis, University of Nottingham, 1980) online
  • Shelef, Nadav G. "From 'Both Banks of the Jordan' to the 'Whole Land of Israel:' Ideological Change in Revisionist Zionism." Israel Studies 9.1 (2004): 125–148. Online
  • Sinanoglou, Penny. "British Plans for the Partition of Palestine, 1929–1938." Historical Journal 52.1 (2009): 131–152. online
  • Wright, Quincy, The Palestine Problem, Political Science Quarterly, 41#3 (1926), pp. 384–412, online.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]