พ.ศ. 2464
หน้าตา
พุทธศักราช 2464 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1921 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน
(หากเป็นการนับศักราชแบบเดิม พ.ศ. 2464 เริ่มในวันที่ 1 เมษายน)
ผู้นำ
[แก้]- พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 – 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468)
- เจ้าประเทศราช:
- เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่: เจ้าแก้วนวรัฐ (11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2454 - 3 มิถุนายน พ.ศ. 2482)
- เจ้าผู้ครองนครลำพูน: เจ้าจักรคำขจรศักดิ์ (11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2454 - 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2486)
- เจ้าผู้ครองนครลำปาง: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิต (3 มกราคม พ.ศ. 2441 - 5 ตุลาคม พ.ศ. 2465)
- เจ้าผู้ครองนครน่าน: เจ้ามหาพรหมสุรธาดา (11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2462 - 17 สิงหาคม พ.ศ. 2474)
- เจ้าประเทศราช:
เหตุการณ์
[แก้]- 25 กุมภาพันธ์ – สหภาพโซเวียตเข้ายึดครองประเทศจอร์เจีย
- 13 มีนาคม – สาธารณรัฐประชาชนมองโกเลียประกาศเอกราชจากสาธารณรัฐจีน
- 19 พฤษภาคม – รัฐสภาสหรัฐอเมริกาผ่านรัฐบัญญัติ จำกัดจำนวนคนอพยพย้ายถิ่นเข้าสหรัฐอเมริกา
- 27 กรกฎาคม – นักวิจัยมหาวิทยาลัยโทรอนโตนำโดยเฟรเดอริก แบนติง ประกาศการค้นพบฮอร์โมนอินซูลิน
- 30 ตุลาคม – ทีมฟุตบอลทีมชาติอาร์เจนตินาชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอเมริกาใต้ ครั้งที่ 5 ณ สนามกีฬาเอสตาเดียวมูนีซีปัลเดโบลีบาร์ กรุงบัวโนสไอเรส ประเทศอาร์เจนตินา
วันเกิด
[แก้]มกราคม
[แก้]- 5 มกราคม – แกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก (สิ้นพระชนม์ 23 เมษายน พ.ศ. 2562)
- 26 มกราคม – อะกิโอะ โมะริตะ นักธุรกิจชาวญี่ปุ่น ผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทโซนี (ถึงแก่กรรม 3 ตุลาคม พ.ศ. 2542)
- 31 มกราคม – มาริโอ แลนซา นักร้องโอเปราเสียงเทเนอร์และนักแสดงชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 7 ตุลาคม พ.ศ. 2502)
กุมภาพันธ์
[แก้]- 4 กุมภาพันธ์ – เจ้าหญิงฟัตมา เนสลีชาห์ เจ้าหญิงองค์สุดท้ายแห่งออตโตมัน (สิ้นพระชนม์ 2 เมษายน พ.ศ. 2555)[1]
- 20 กุมภาพันธ์ – บัดดี โรเจอร์ส นักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 26 มิถุนายน พ.ศ. 2535)
มีนาคม
[แก้]เมษายน
[แก้]พฤษภาคม
[แก้]- 1 พฤษภาคม – สัตยชิต ราย นักสร้างภาพยนตร์ชาวอินเดีย (ถึงแก่กรรม 23 เมษายน พ.ศ. 2535)
- 5 พฤษภาคม – อาเธอร์ ลีโอนาร์ด ชอว์โลว์ นักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 28 เมษายน พ.ศ. 2542)
- 9 พฤษภาคม – กาญจนา นาคนันทน์ ศิลปินแห่งชาติสาขาวรรณศิลป์ (ถึงแก่กรรม 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2557)
- 21 พฤษภาคม – อันเดรย์ ซาคารอฟ นักฟิสิกส์และนักเคลื่อนไหวด้านสิทธิมนุษยชนชาวโซเวียต (ถึงแก่กรรม 14 ธันวาคม พ.ศ. 2532)
- 23 พฤษภาคม - ตุ้มทอง โชคชนะ ราชาเพลงรำวง (ถึงแก่กรรม 10 มีนาคม พ.ศ. 2537)
มิถุนายน
[แก้]- 8 มิถุนายน – ซูฮาร์โต ประธานาธิบดีคนที่ 2 ของประเทศอินโดนีเซีย (ถึงแก่กรรม 27 มกราคม พ.ศ. 2551)
- 10 มิถุนายน – เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 และพระราชบิดาในสมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร (สิ้นพระชนม์ 9 เมษายน พ.ศ. 2564)
- 21 มิถุนายน – เจน รัสเซลล์ นักแสดงชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554)
- 27 มิถุนายน – พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร (สิ้นพระชนม์ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2552)
กรกฎาคม
[แก้]- 6 กรกฎาคม – แนนซี เรแกน นักแสดงและอดีตสตรีหมายเลขหนึ่งของสหรัฐอเมริกา (ถึงแก่กรรม 6 มีนาคม พ.ศ. 2559)
- 8 กรกฎาคม – พลเรือเอก สมุทร์ สหนาวิน อดีตผู้บัญชาการทหารเรือ (ถึงแก่อนิจกรรม 28 ตุลาคม พ.ศ. 2547)
- 18 กรกฎาคม – จอห์น เกล็นน์ นักขับเครื่องบิน นักบินอวกาศ และนักการเมืองชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 8 ธันวาคม พ.ศ. 2559)
สิงหาคม
[แก้]- 23 สิงหาคม – เคนเนธ แอร์โรว์ นักเศรษฐศาสตร์ชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560)
กันยายน
[แก้]- 2 กันยายน –
- มนต์ชัย พันธุ์คงชื่น อดีตอธิบดีกรมตำรวจและอดีตผู้บัญชาการตำรวจนครบาล (ถึงแก่กรรม 9 สิงหาคม พ.ศ. 2559)
- ศรีทอง อารีวงศ์ ครูและผู้มีเชี้อสายเจ้านายฝ่ายเหนือจากเจ้าวงศ์ แสนศิริพันธุ์ และล่ามชาวไทยผู้รับถวายงานสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 (ถึงแก่กรรม 24 เมษายน พ.ศ. 2567)[2]
- 5 กันยายน – ซาฟีนาซ ซุลฟิการ์ อดีตราชินีแห่งอียิปต์ (สิ้นพระชนม์ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2531)
- 12 กันยายน – สตาญิสวัฟ แลม นักเขียนนิยายวิทยาศาสตร์ชาวโปแลนด์ (ถึงแก่กรรม 27 มีนาคม พ.ศ. 2549)
- 19 กันยายน - พระราชมงคลวิสุทธิ์ (ก้ำ กลฺยาณธมฺโม) พระสงฆ์ชาวไทย พระราชาคณะชั้นราช ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 6 และเจ้าอาวาสวัดบุญเกิด (มรณภาพ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2567)
ตุลาคม
[แก้]- 25 ตุลาคม - สมเด็จพระราชาธิบดีไมเคิลที่ 1 แห่งโรมาเนีย พระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งโรมาเนีย (สิ้นพระชนม์ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2561)
พฤศจิกายน
[แก้]- 3 พฤศจิกายน - ชาลส์ บรอนสัน นักแสดงชาวอเมริกัน (เสียชีวิต 30 สิงหาคม พ.ศ. 2546)
- 5 พฤศจิกายน - เจ้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต์ (สิ้นพระชนม์ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2556)
- 27 พฤศจิกายน – อเล็กซานเดอร์ ดุปเชค นักการเมืองชาวสโลวาเกีย (ถึงแก่กรรม 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2535)
ธันวาคม
[แก้]- 9 ธันวาคม – พระครูสุนทรธรรมนิวิฐ (รวย ปาสาทิโก) (มรณภาพ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2560)
- 11 ธันวาคม – สง่า อารัมภีร นักเขียนและศิลปินแห่งชาติ (ถึงแก่กรรม 3 มิถุนายน พ.ศ. 2542)
- 16 ธันวาคม – พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภา (สิ้นพระชนม์ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541)
วันถึงแก่กรรม
[แก้]- 16 สิงหาคม – สมเด็จพระเจ้าปีเตอร์ที่ 1 แห่งเซอร์เบีย (พระราชสมภพ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2387)
- 11 กันยายน – เจ้าชายหลุยส์แห่งบัทเทนแบร์ก (เกิด 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2397)
- 16 ธันวาคม – กามีย์ แซ็ง-ซ็องส์ นักแต่งเพลงชาวฝรั่งเศส (เกิด 9 ตุลาคม พ.ศ. 2378)
- 20 ธันวาคม – ยูลีอุส รีชาร์ด เพทรี นักจุลชีววิทยาชาวเยอรมัน (เกิด 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2395)
รางวัล
[แก้]- สาขาเคมี – Frederick Soddy
- สาขาวรรณกรรม – อนาโตล ฟรองซ์
- สาขาสันติภาพ – Hjalmar Branting, Christian Lous Lange
- สาขาฟิสิกส์ – อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์
- สาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ – ไม่มีการมอบรางวัล
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Neslisah Sultan, Last Ottoman Dynasty Member, Dies at 91" (Press release) (ภาษาอังกฤษ). The Inquisitr. 4 เมษายน 2555. สืบค้นเมื่อ 5 เมษายน 2555.
{{cite press release}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ "ประวัติไม่ธรรมดา คุณยายทวดวัย 101 ปี ผู้เคยถวายงานเป็นล่ามควีนเอลิซาเบธที่ 2". www.sanook.com/news. 2022-09-15.