ฟรานซิส รอว์ดอน-เฮสติงส์ ลอร์ด เฮสติงส์
มาร์ควิสแห่งเฮสติงส์ | |
---|---|
ภาพเหมือนตนเองโดยมาร์ติน อาร์เชอร์ ชี | |
ผู้สำเร็จราชการอินเดีย | |
ดำรงตำแหน่ง 4 ตุลาคม ค.ศ. 1813 – 9 มกราคม ค.ศ. 1823 | |
กษัตริย์ | จอร์จที่ 3 จอร์จที่ 4 |
ก่อนหน้า | The Lord Minto |
ถัดไป | จอห์น อาดัม ในฐานะรักษาการผู้สำเร็จราชการ |
ผู้ว่าการมอลตา | |
ดำรงตำแหน่ง 22 มีนาคม ค.ศ. 1824 – 28 พฤศจิกายน ค.ศ. 1826 | |
กษัตริย์ | จอร์จที่ 4 |
ก่อนหน้า | โทมัส เมตแลนด์ |
ถัดไป | อเล็กซานเดอร์ จอร์จ วูดฟอร์ด ในฐานะรักษาการผู้ว่าการ |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 9 ธันวาคม ค.ศ. 1754 เทศมณฑลดาวน์ ไอร์แลนด์ |
เสียชีวิต | 28 พฤศจิกายน ค.ศ. 1826 ที่ทะเลนอกเนเปิลส์ | (71 ปี)
เชื้อชาติ | บริติช |
คู่สมรส | Flora Campbell, 6th Countess of Loudoun (1780–1840) |
บุตร | 6 |
บุพการี | John Rawdon, 1st Earl of Moira Elizabeth Hastings, 13th Baroness Hastings |
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง | |
รับใช้ | บริเตนใหญ่ |
สังกัด | กองทัพบกสหราชอาณาจักร |
ยศ | นายพล |
บังคับบัญชา | จอมทัพแห่งอินเดีย |
ผ่านศึก | สงครามประกาศอิสรภาพอเมริกา สงครามสหสัมพันธมิตรครั้งที่หนึ่ง สงครามอังกฤษ-เนปาล สงครามอังกฤษ-มราฐีครั้งที่สาม |
ฟรานซิส รอว์ดอน-เฮสติงส์ ลอร์ด เฮสติงส์ (9 ธันวาคม 2297 - 28 พฤศจิกายน 2369) เป็นนักการเมืองชาวแองโกล-ไอริช และนายทหารที่รับราชการเป็นผู้สำเร็จราชการประจำอินเดีย จากปี พ.ศ. 2356 ถึงปี พ.ศ. 2366 เขารับใช้กองทัพอังกฤษเป็นเวลาหลายปีระหว่างสงครามปฏิวัติอเมริกา และระหว่างสงครามสหสัมพันธมิตรครั้งที่หนึ่ง ในปี พ.ศ. 2337 เขาได้ใช้นามสกุล "เฮสติงส์" ในปี พ.ศ. 2333 ตามความประสงค์ของ ฟรานซิส เฮสติงส์ เอิร์ลแห่งฮันติงดอน ลุงฝั่งแม่ของเขา[1] ซึ่งลอร์ดเฮสติงส์ผู้นี้คือคนเดียวกับที่ส่ง จอห์น ครอว์เฟิร์ด เข้ามายังสยาม
ความเป็นมา การศึกษา และอาชีพทหารขั้นต้น
[แก้]เฮสติ้งส์เกิดที่ มอยรา เคาน์ตีดาวน์ เป็นบุตรชายของจอห์น โรว์ดอน เอิร์ลแห่งมอยราคนที่ 1 และเอลิซาเบธ เฮสติ้งส์ บารอนเนสคนที่ 13 แห่งเฮสติ้งส์ ซึ่งเป็นธิดาของ เอิร์ลคนที่ 9 แห่งฮันติงดอน[2] เขารับบัพติศมา ที่โบสถ์เซนต์ออเดียน ดับลิน เมื่อวันที่ 2 มกราคม ค.ศ. 1755[3] เขาเติบโตในมอยราและในดับลิน[4] เขาเข้าร่วมกองทัพอังกฤษเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม ค.ศ. 1771 เป็นร้อยตรีในกองร้อยทหารราบที่ 15 นับแต่นั้นมาตลอดชีวิตของเขาก็ได้รับใช้ชาติไปโดยสมบูรณ์[5] เขาเรียนที่โรงเรียนแฮร์โรว์และสอบเข้ามหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด[1] แต่ลาออก เขากลายเป็นเพื่อนกับ Banastre Tarleton ที่นั่นกับลุงฝั่งแม่ของเขา ลอร์ด ฮันติงดอน พวกเขาเดินทางจารึกไปทั่วยุโรป[6] เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม ค.ศ. 1773 เขาได้รับการเลื่อนยศเป็นร้อยโทในกองร้อยทหารราบที่ 5 เขากลับไปอังกฤษเพื่อเข้าร่วมกองทหารของเขา และแล่นเรือไปทวีปอเมริกาเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม ค.ศ. 1774
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 Beevor, p. 58.
- ↑ Chisholm 1911, p. 53.
- ↑ "Registers of St Audoen's Church". Irish Genealogy. สืบค้นเมื่อ 19 October 2019.
- ↑ (Paul David Nelson 2005, p. 21)
- ↑ Chisholm 1911, pp. 53–54.
- ↑ (Paul David Nelson 2005, p. 22)
ข้อมูล
[แก้]- บทความนี้ ประกอบด้วยข้อความจากสิ่งพิมพ์ซึ่งปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติ: Chisholm, Hugh, บ.ก. (1911). . สารานุกรมบริตานิกา ค.ศ. 1911. Vol. 13 (11 ed.). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์. pp. 53–55.
- "Hastings, Francis Rawdon". Oxford Dictionary of National Biography (online ed.). Oxford University Press. doi:10.1093/ref:odnb/12568. (ต้องรับบริการหรือเป็นสมาชิกหอสมุดสาธารณะสหราชอาณาจักร)
- Paul David Nelson (2005). Francis Rawdon-Hastings, Marquess of Hastings: Soldier, Peer of the Realm, Governor-General of India. Fairleigh Dickinson University Press. ISBN 978-0-8386-4071-5.
- Beevor, R. J. (1931). Hastings of Hastings. Printed for Private Circulation.
- Harrington, Jack (2010). Sir John Malcolm and the Creation of British India. New York: Palgrave Macmillan. ISBN 978-0-230-10885-1.
- Kelly, Ronan (2009). Bard of Erin: The Life of Thomas Moore. Penguin Books.
- Morley, Vincent (2002). Irish opinion and the American Revolution, 1760–83. Cambridge University Press.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- Hansard 1803–2005: ส่วนร่วมในรัฐสภาสหราชอาณาจักรของ the Marquess of Hastings