ข้ามไปเนื้อหา

ภีตรคาว

พิกัด: 26°12′38″N 80°16′34″E / 26.210556°N 80.276111°E / 26.210556; 80.276111
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภีรตคาว
ภีรตคาวมนเทียร
ภีรตคาวตั้งอยู่ในเอเชียใต้
ภีรตคาว
ภีรตคาว
แสดงที่ตั้งภายในเอเชียใต้
ภีรตคาวตั้งอยู่ในรัฐอุตตรประเทศ
ภีรตคาว
ภีรตคาว
ภีรตคาว (รัฐอุตตรประเทศ)
ชื่ออื่นภีรตคาม
ที่ตั้งภีรตคาว อำเภอกานปุระ รัฐอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย
พิกัด26°12′38″N 80°16′34″E / 26.210556°N 80.276111°E / 26.210556; 80.276111
ประเภทฮินดู
ความเป็นมา
สร้างปลายศตวรรษที่ 5
วัฒนธรรมคุปตะ

ภีตรคาว หรือ ภีตรคาม (อักษรโรมัน: Bhitargaon) เป็นเมืองใกล้กับนครกานปุระ ตั้งอยู่ในอำเภอกานปุรนคร รัฐอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย เป็นที่รู้จักจากโบสถ์พราหมณ์สมัยจักรวรรดิคุปตะ ซึ่งถือว่าเป็นโบสถ์พราหมณ์สร้างด้วยอิฐหลังที่ใหญ่ที่สุดที่หลงเหลือจากสมัยคุปตะมาถึงปัจจุบัน[1] โบสถ์พราหมณ์นี้มีอายุถึงปลายศตวรรษที่ 5[2]

ภีตรคาวมนเทียร (Bhitargaon Temple) เป็นสิ่งปลูกสร้างจากอิฐ ประดับด้วยแผ่นดินเผาเคลือบ สร้างขึ้นในศตวรรษที่ห้าในสมัยคุปตะ[3][4][5][6][7][8][9][10]

นอกจากนี้ยังมีโบสถ์พราหมณ์โบราณอีกหลังใกล้กัน ตั้งอยู่ในหมู่บ้าน เพหตาพูชูรค์ (Behta Bujurg หรือ Behata Bujurg) ห่างไป 4.3 กิโลเมตรจากภีตรคาวมนเทียร และได้รับการอนุรักษ์โดยกรมสำรวจโบราณคดีอินเดีย[11] สร้างขึ้นบูชาพระชคันนาถและมีลักษณะเป็นทรงสถูป คนในท้องถิ่นเรียกมนเทียรนี้ว่า "มนเทียรฝน" เนื่องจากว่ากันว่าหากพบว่ามีน้ำหยดลงจากเพดานของมนเทียร จะเป็นการทำนายว่ากำลังจะมีฝนในวันถัด ๆ มา

อ้างอิง

[แก้]
  1. Michell, George, The Penguin Guide to the Monuments of India, Volume 1: Buddhist, Jain, Hindu, p. 157, 1989, Penguin Books, ISBN 0140081445
  2. Harle, James C. The Art and Architecture of the Indian Subcontinent (ภาษาอังกฤษ). Yale University Press. p. 116. ISBN 978-0-300-06217-5.
  3. Schastok, Sara L., [1], The Śāmalājī Sculptures and 6th Century Art in Western India. BRILL, 1985.
  4. Jayewardene-Pillai, Shanti, Imperial Conversations: Indo-Britons and the Architecture of South India. Yoda Press, 2007.
  5. Begler, Joseph David, Rear view of the temple at Bhitargaon, Kanpur District เก็บถาวร 2017-12-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. British Library, 2009.
  6. Brown, Percy, Indian Architecture (Buddhist and Hindu Periods). D B Taraporevala, Mumbai, 1959.
  7. Harle, J. C., Gupta Sculpture. Munshiram Manoharlal, New Delhi, 1974. ISBN 8121506417.
  8. Dalal, Roshen, The Religions of India: A Concise Guide to Nine Major Faiths. Penguin Books India, 2010.
  9. Kramrisch, Stella and Raymond Burnier, The Hindu Temple, Volume 1. Motilal Banarsidass Publ., 1976.
  10. de Laet, Sigfried J., History of Humanity: From the seventh to the sixteenth century. UNESCO, 1994.
  11. ASI notice