ข้ามไปเนื้อหา

มันหมู

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
มันหมู
Wet-rendered lard, from pork fatback.
องค์ประกอบไขมัน
ไขมันอิ่มตัว
ไขมันอิ่มตัวทั้งหมด38–43%:
Palmitic acid: 25–28%
Stearic acid: 12–14%
Myristic acid: 1%
ไขมันไม่อิ่มตัว
ไขมันไม่อิ่มตัวทั้งหมด56–62%
Monounsaturated47–50%:
Oleic acid: 44–47%
Palmitoleic acid: 3%
PolyunsaturatedLinoleic acid: 6–10%[1]
คุณสมบัติ
พลังงานต่อ 100 ก.3770 kJ (900 kcal)
จุดหลอมเหลวbackfat: 30–40 องศาเซลเซียส (86–104 องศาฟาเรนไฮต์)
leaf fat: 43–48 องศาเซลเซียส (109–118 องศาฟาเรนไฮต์)
mixed fat: 36–45 องศาเซลเซียส (97–113 องศาฟาเรนไฮต์)
จุดก่อควัน
(Smoke point)
121–218 องศาเซลเซียส (250–424 องศาฟาเรนไฮต์)
ความถ่วงจำเพาะที่ 20°C0.917–0.938
Iodine value45–75
Acid value3.4
Saponification value190–205
Unsaponifiable0.8%

มันหมู คือ เนื้อไขมันของหมูทั้งในรูปแบบที่เจียวแล้วและยังมิได้เจียว เดิมใช้เป็นหรือใช้แทนมันสำหรับประกอบอาหารโดยทั่วไปทั้งยังใช้เป็นเครื่องทาทำนองเดียวกับเนยด้วย แต่ปัจจุบันได้รับการใช้งานลดลง กระนั้น พ่อครัวและช่างทำขนมร่วมสมัยหลายแขนงยังนิยมใช้มันหมูยิ่งกว่าไขมันชนิดอื่น คุณภาพของมันหมูในการประกอบอาหารนั้นขึ้นอยู่กับว่ามันนั้นได้มาจากส่วนใดของหมูและได้รับการแปรรูปมาอย่างไร

อ้างอิง

[แก้]
  1. National Research Council. (1976). Fat Content and Composition of Animal Products.; p. 203. Washington, DC: Printing and Publishing Office, National Academy of Science. ISBN 0-309-02440-4

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]