มานุษยวิทยาวัฒนธรรม
ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
มานุษยวิทยา |
---|
มานุษยวิทยาวัฒนธรรม นับเป็นหนึ่งในสี่สาขาของมานุษยวิทยาซึ่งพัฒนาขึ้นในสหรัฐอเมริกา พัฒนาขึ้นเพื่อส่งเสริม "วัฒนธรรม" ให้มีความหมายเชิงมโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์ การศึกษาความมากหลายในหมู่มนุษย์และการตรวจสอบหาเศรษฐกิจของโลกและกระบวนการทางการเมืองที่มีต่อวัฒนธรรมที่เป็นจริง
แนวคิดเชิงมานุษยวิทยาของ "วัฒนธรรม" ในบางส่วน สะท้อนให้เห็นถึงปฏิกิริยาที่มีต่อสัมพันธสารหรือวาทกรรมที่ขึ้นอยู่กับสิ่งตรงกันข้ามระหว่าง "วัฒนธรรม" และ "ธรรมชาติ" ตามที่มนุษย์ได้อยู่อาศัยใน "สภาวะธรรมชาติ" นักมานุษยวิทยาได้โต้เถียงว่าวัฒนธรรมคือ "ธรรมชาติของมนุษย์" และผู้คนทั้งหลายมีความสามารถที่จะจำแนกประสบการณ์ ถอดรหัสการจำแนกในเชิงสัญลักษณ์ และสอนความเป็นนามธรรมนั้นให้แก่ผู้อื่น โดยที่มนุษย์ได้วัฒนธรรมมาด้วยการเรียนรู้ (ในกระบวนการของการทำให้กลายเป็นวัฒนธรรมและการสัมพันธ์กันในสังคม) ผู้คนอยู่อาศัยในที่แตกต่างกัน แตกต่างด้วยสิ่งล้อมรอบ จึงอาจทำให้มีการพัฒนาวัฒนธรรมออกมาต่างกัน นักมานุษยวิทยายังได้ชี้ประเด็นว่าด้วยด้วยวัฒนธรรมนั่นเองที่ทำให้ผู้คนสามารถปรับตัวเองให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมที่ไม่ได้สืบมาทางพันธุกรรม ดังนั้นผู้คนที่อาศัยในสิ่งแวดล้อมที่ต่างกันจึงมักมีวัฒนธรรมที่ต่างกันด้วย ทฤษฎีทางมานุษยวิทยาส่วนมากมีต้นตอมาจากความซาบซึ้งและความสนใจในความตึงเครียดระหว่างความเป็นท้องถิ่นและความเป็นระดับโลก
เส้นขนานของมานุษยวิทยาวัฒนธรรมเกิดขึ้นในสหรัฐฯ กล่าวคือ วิชามานุษยวิทยาสังคม ซึ่งใช้ "ความเป็นสังคม" เป็นแนวคิดกลางและที่เน้นจุดรวมไปที่การศึกษาสถานภาพทางสังคมและบทบาท กลุ่ม สถาบันและความสัมพันธ์ระหว่างกันแล้วพัฒนามาเป็นสาขาวิชาการในสหราชอาณาจักร ความหมายของขอบข่ายของ "มานุษยวิทยาสังคม-วัฒนธรรม" ทำให้เกิดความแตกต่างในประเพณีของทั้งมานุษยวิทยาวัฒนธรรมและมานุษยวิทยาสังคม
ประวัติโดยสังเขป
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ทฤษฎีและวิธีการร่วมสมัย
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
เนื้อหาวิชาที่เกี่ยวข้อง
[แก้]- มานุษยวิทยาศิลปะ (anthropology of art)
- มานุษยวิทยากฎหมาย (anthropology of law)
- มานุษยวิทยาสื่อ (anthropology of media)
- มานุษยวิทยาศาสนา (anthropology of religion)
- มานุษยวิทยาประยุกต์ (applied anthropology)
- การข้ามวัฒนธรรมศึกษา (cross-cultural studies)
- มานุษยวิทยาไซเบอร์ (cyber anthropology)
- มานุษยวิทยาการพัฒนา (development anthropology)
- ทฤษฎีการสืบทอดเชิงทวิ (dual inheritance theory)
- มานุษยวิทยาสิ่งแวดล้อม (environmental anthropology)
- มานุษยวิทยาเศรษฐศาสตร์ (economic anthropology)
- มานุษยวิทยานิเวศ (ecological anthropology)
- พฤกศาสตร์พื้นบ้าน (ethnobotany)
- ชาติพันธุ์วรรณา (ethnography)
- ดนตรีวิทยาพื้นบ้าน (ethnomusicology)
- สัตววิทยาพื้นบ้าน (ethnozoology)
- มานุษยวิทยาวิวัฒนาการ (evolutionary anthropology)
- มานุษยวิทยาสตรีเพศ (feminist anthropology)
- นิเวศวิทยาพฤติกรรมมนุษย์ (human behavioral ecology)
- มานุษยวิทยาการแพทย์ (medical anthropology)
- มานุษยวิทยาจิตวิทยา (psychological anthropology)
- มานุษยวิทยาการเมือง (political anthropology)
- มานุษยวิทยาสาธารณะ (public anthropology)
- มานุษยวิทยาสังคม (social anthropology)
- มานุษยวิทยาสัญลักษณ์ (symbolic anthropology)
- มานุษยวิทยานาคร (urban anthropology)
- มานุษยวิทยาวิทัศน์ (visual anthropology)
ดูเพิ่ม
[แก้]- Ernest Gellner
- ทฤษฎีการสืบทอดเชิงทวิ (Dual inheritance theory)
- นิเวศวิทยาพฤติกรรมมนุษย์ (Human behavioral ecology)
- นักล่า-นักเก็บกิน (Hunter-gatherers)
- ชนเร่ร่อน (Nomads)
- มานุษยวิทยาสัญลักษณ์ (en:Symbolic anthropology)
- การศึกษาชุมชน (Community studies)
- มานุษยวิทยาประสาท (Neuroanthropology)
- สังคมวิทยา (Sociology)
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- http://www.movinganthropology.org - The Moving Anthropology Student Network/Moving Anthropology Social Network connects young Anthropologists and anthropology students from European and other countries
- Review of Nettl's 2005 revised edition of "The Study of Ethnomusicology" เก็บถาวร 2008-06-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน