รายนามประธานาธิบดีโซมาลีแลนด์
หน้าตา
เนื้อหาในบทความนี้ล้าสมัย โปรดปรับปรุงข้อมูลให้เป็นไปตามเหตุการณ์ปัจจุบันหรือล่าสุด ดูหน้าอภิปรายประกอบ |
รายนามประธานาธิบดีโซมาลีแลนด์ สาธารณรัฐปกครองตนเอง ซึ่งได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติว่าเป็นเขตปกครองตนเองของประเทศโซมาเลีย[1][2] รัฐบาลโซมาลีแลนด์ถือว่าตนเป็นรัฐสือต่อจากบริติชโซมาลีแลนด์ ซึ่งเป็นเอกราชเพียงไม่กี่วันในปีพ.ศ. 2503 เป็นรัฐโซมาลีแลนด์[3][4] ประธานาธิบดีโซมาลีแลนด์จะอยู่ในสถานะประมุขแห่งรัฐ และยังทำหน้าที่เป็นหัวหน้ารัฐบาล ไม่มีนายกรัฐมนตรี
ประธานาธิบดีโซมาลีแลนด์ (2534-ปัจจุบัน)
[แก้]ดำรงตำแหน่ง | ภาพ | รายนาม | สังกัด | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
28 พฤษภาคม พ.ศ. 2534 ถึง 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2536 | อับดิเราะห์มาน อาห์เมด อาลี ตูร์, ประธานาธิบดี | SNM | ||
16 พฤษภาคม พ.ศ. 2536 ถึง 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2545 | โมฮัมเหม็ด ฮาจี อิบราฮิม อิกอัล, ประธานาธิบดี | SNM/UDUB | ถึงแก่อสัญกรรมระหว่างดำรงตำแหน่ง | |
3 พฤษภาคม พ.ศ. 2545 ถึง 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 | ดาฮิร์ ริยาเล คาฮิน, ประธานาธิบดี | UDUB | ||
27 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 ถึง ปัจจุบัน | อาห์เมด โมฮัมเหม็ด โมฮามุด, ประธานาธิบดี | KULMIYE |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "The Transitional Federal Charter of the Somali Republic" (PDF). University of Pretoria. 2004-02-01. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2010-02-15. สืบค้นเมื่อ 2010-02-02. "The Somali Republic shall have the following boundaries. (a) North; Gulf of Aden. (b) North West; Djibouti. (c) West; Ethiopia. (d) South south-west; Kenya. (e) East; Indian Ocean."
- ↑ Gettleman, Jeffrey (2009-06-02). "No Winner Seen in Somalia's Battle With Chaos". New York Times. สืบค้นเมื่อ 2010-02-02.
- ↑ "Somaliland Marks Independence After 73 Years of British Rule" (fee required). The New York Times. 1960-06-26. p. 6. สืบค้นเมื่อ 2008-06-20.
- ↑ "How Britain said farewell to its Empire". BBC News. 23 July 2010.