ข้ามไปเนื้อหา

แท่นพิมพ์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

แท่นพิมพ์ คือเครื่องจักรสำหรับพิมพ์หนังสือ หรือสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ โดยการใช้แท่นหนาหนักกดพื้นผิวที่มีน้ำหมึกลงบนวัสดุที่ต้องการพิมพ์ เช่น กระดาษ หรือผ้า จากนั้นน้ำหมึกจะถูกถ่ายทอดลงสู่วัสดุนั้น แท่นพิมพ์เป็นเทคโนโลยีการพิมพ์ชนิดหนึ่งซึ่งแพร่หลายไปทั่วโลกในคริสต์สหัสวรรษที่ 2[1][2]

แท่นพิมพ์แบบกดแท่นแรกถูกประดิษฐ์โดยโยฮันเนิส กูเทินแบร์คเมื่อราว ค.ศ. 1440 ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการปฏิวัติเทคโนโลยีการพิมพ์ ซึ่งสามารถพิมพ์ได้มากถึง 3,600 หน้าต่อวัน[3]

อ้างอิง

[แก้]
  1. For example, in 1999, the A&E Network ranked Gutenberg no. 1 on their "People of the Millennium" countdown เก็บถาวร 2010-08-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. In 1997, Time–Life magazine picked Gutenberg's invention as the most important of the second millennium เก็บถาวร 10 มีนาคม 2010 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน; the same did four prominent US journalists in their 1998 resume 1,000 Years, 1,000 People: Ranking The Men and Women Who Shaped The Millennium เก็บถาวร 3 มีนาคม 2012 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. The Johann Gutenberg entry of the Catholic Encyclopedia describes his invention as having made a practically unparalleled cultural impact in the Christian era.
  2. McLuhan 1962; Eisenstein 1980; Febvre & Martin 1997; Man 2002
  3. Wolf 1974, pp. 67f.:

    From old price tables it can be deduced that the capacity of a printing press around 1600, assuming a fifteen-hour workday, was between 3.200 and 3.600 impressions per day.