ข้ามไปเนื้อหา

ไอเซปามัยซิน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไอเซปามัยซิน
ข้อมูลทางคลินิก
ชื่ออื่น (2S) -3-Amino-N-[(1R,2S,3S,4R,5S) -5-amino-4-[(3R,4S,5S,6R) -6- (aminomethyl) -3,4,5-trihydroxyoxan-2-yl]oxy-2-[(3R,4R,5R) -3,5-dihydroxy-5-methyl-4-methylaminooxan-2-yl]oxy-3-hydroxycyclohexyl]-2-hydroxypropanamide
AHFS/Drugs.comInternational Drug Names
รหัส ATC
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์
การเปลี่ยนแปลงยาไม่เปลี่ยนแปลง
การขับออกปัสสาวะ
ตัวบ่งชี้
  • (2S) -3-amino-N- ((1R,2S,3S,4R,5S) -5-amino-4-[(6-amino-6-deoxy-D-glucopyranosyl) oxy]-2-{[3-deoxy-4-C-methyl-3- (methylamino) -L-arabinopyranosyl]oxy}-3-hydroxycyclohexyl) -2-hydroxypropanamide
PubChem CID
ChemSpider
UNII
ChEMBL
ECHA InfoCard100.055.567
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี
สูตรC22H43N5O12
มวลต่อโมล569.60 g/mol g·mol−1
แบบจำลอง 3D (JSmol)
  • C[C@@]1 (CO[C@@H]([C@@H]([C@H]1NC) O) O[C@H]2[C@@H](C[C@@H]([C@H]([C@@H]2O) O[C@@H]3[C@@H]([C@H]([C@@H]([C@H](O3) CN) O) O) O) N) NC (=O) [C@H](CN) O) O
  • InChI=1S/C22H43N5O12/c1-22 (35) 6-36-20 (15 (33) 18 (22) 26-2) 39-17-8 (27-19 (34) 9 (28) 4-23) 3-7 (25) 16 (14 (17) 32) 38-21-13 (31) 12 (30) 11 (29) 10 (5-24) 37-21/h7-18,20-21,26,28-33,35H,3-6,23-25H2,1-2H3, (H,27,34)/t7-,8+,9-,10+,11+,12-,13+,14-,15+,16+,17-,18+,20+,21+,22-/m0/s1 ☒N
  • Key:UDIIBEDMEYAVNG-ZKFPOVNWSA-N ☒N
  7checkY (what is this?)  (verify)
สารานุกรมเภสัชกรรม

ไอเซปามัยซิน (อังกฤษ: Isepamicin หรือ Isepamycin) เป็นยาปฏิชีวนะชนิดหนึ่งในกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ โดยมีข้อบ่งใช้สำหรับรักษาโรคที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ทั้งนี้ ไอเซปามัยซินได้รับการจัดลำดับความสำคัญของยาจากองค์การอนามัยโลก (World Health Organisation) ว่าเป็นยาปฏิชีวนะที่มีความจำเป็นอย่างยิ่งในการบำบัดรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียในมนุษย์[1] โดยยานี้จัดเป็นยาปฏิชีวนะชนิดออกฤทธิ์กว้าง มีโครงสร้างที่มีความคล้ายคลึงกันกับเจนตามัยซินและอะมิกาซินมีกลไกการออกฤทธิ์ที่คล้ายคลึงกันกับสมาชิกอื่นในกลุ่มกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ อย่างไรก็ตาม ไอเซปามัยซินมีข้อเหนือกว่ายาอื่นในกลุ่มนี้ คือ สามารถออกฤทธิ์ต่อเชื้อแบคทีเรียที่ดื้อยาได้ดี เช่น แบคทีเรียสายพันธุ์ที่ผลิตเอนไซม์ 6'-N-aminoglycoside acetyltransferase เป็นต้น ยานี้ถูกเปลี่ยนแปลงและขับออกทางไต นอกจากนี้ ไอเซปามัยซินยังมีผลหลังการใช้ยาปฏิชีวนะ (post-antibiotic effect) ซึ่งหมายความว่าการเติบโตของแบคทีเรียได้รับการกดไว้ชั่วคราวแม้จะหยุดใช้ยาดังกล่าวแล้วก็ตาม ทำให้ยานี้สามารถบริหารให้ผู้ป่วยได้เพียงวันละ 1 ครั้ง[2]

อ้างอิง

[แก้]
  1. World Health Organization (2012). "Critically important antimicrobials for human medicine" (PDF) (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ January 12, 2018.
  2. U.S. National Library of Medicine. "Isepamicin". National Center for Biotechnology Information (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ January 12, 2018.