ซีอิ๊ว
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก Soy sauce)
ซีอิ๊ว | |||||||||||||||||
ซีอิ๊ว | |||||||||||||||||
ชื่อภาษาจีน | |||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
อักษรจีนตัวเต็ม | 醬油 | ||||||||||||||||
อักษรจีนตัวย่อ | 酱油 | ||||||||||||||||
ความหมายตามตัวอักษร | "น้ำมันซอส" | ||||||||||||||||
| |||||||||||||||||
ชื่อภาษาฮกเกี้ยน/กวางตุ้ง | |||||||||||||||||
ภาษาจีน | 豉油 | ||||||||||||||||
ความหมายตามตัวอักษร | "น้ำมันถั่วเน่า" | ||||||||||||||||
| |||||||||||||||||
ชื่อภาษาพม่า | |||||||||||||||||
ภาษาพม่า | ပဲငံပြာရည် | ||||||||||||||||
IPA | [pɛ́.ŋàɰ̃.bjà.jè] | ||||||||||||||||
ชื่อภาษาเวียดนาม | |||||||||||||||||
ภาษาเวียดนาม | xì dầu หรือ nước tương | ||||||||||||||||
ชื่อภาษาไทย | |||||||||||||||||
อักษรไทย | ซีอิ๊ว | ||||||||||||||||
ชื่อภาษาเกาหลี | |||||||||||||||||
ฮันกึล | 간장 | ||||||||||||||||
ความหมายตามตัวอักษร | "ซอสตามฤดู" | ||||||||||||||||
| |||||||||||||||||
ชื่อภาษาญี่ปุ่น | |||||||||||||||||
คันจิ | 醤油 | ||||||||||||||||
คานะ | しょうゆ | ||||||||||||||||
| |||||||||||||||||
ชื่อมลายู | |||||||||||||||||
มลายู | kicap | ||||||||||||||||
ชื่ออินโดนีเซีย | |||||||||||||||||
อินโดนีเซีย | kecap | ||||||||||||||||
ชื่อภาษาฟิลิปีโน | |||||||||||||||||
ตากาล็อก | toyo | ||||||||||||||||
ชื่อภาษาหมิ่นใต้ | |||||||||||||||||
ภาษาหมิ่นใต้ | 豆油 (tāu-iû) |
ซีอิ๊ว เป็นเครื่องปรุงรสที่ทำจากถั่วเหลืองหมัก, เมล็ดข้าวย่าง, น้ำเกลือ และเชื้อรา Aspergillus oryzae หรือ Aspergillus sojae[1] ซีอิ๊วมีการคิดค้นมาราว 2,200 ปี ในช่วงราชวงศ์ฮั่นของจีน[2] และแพร่ขยายไปทั่วเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยใช้เป็นเครื่องปรุงอาหาร[3]
คำว่า "ซีอิ๊ว" ในภาษาไทยมีที่มาจากภาษาแต้จิ๋ว คำว่า 豉油 (เพ็งอิม: si7 iu5, IPA: /si¹¹ iu⁵⁵/) อ่านว่า "สี่อิ๊ว"
ซีอิ๊วแบ่งออกเป็น 3 ชนิด ได้แก่
1.ซีอิ๊วชนิดใส เรียกว่า ซีอิ๊วขาว
2.ซีอิ๊วชนิดข้น เรียกว่า ซีอิ๊วดำ
3.ซีอิ๊วชนิดใส่น้ำตาลแดง เรียกว่า ซีอิ๊วหวาน
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 'Microbiology Laboratory Theory and Application.' Michael Leboffe and Burton Pierce, 2nd edition. pp.317
- ↑ "Soy Sauce, China's Liquid Spice". www.flavorandfortune.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-11-08. สืบค้นเมื่อ 2016-11-07.
- ↑ Tanaka, Norio. "Shōyu: The Flavor of Japan," เก็บถาวร 2009-02-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน The Japan Foundation Newsletter Vol. XXVII, No. 2 (January 2000), p. 2.