ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทางรถไฟสายหนองคาย–เวียงจันทน์"
แอนเดอร์สัน (คุย | ส่วนร่วม) ย้อนการแก้ไขที่ 11812729 สร้างโดย Maprangsriwutchai (พูดคุย) ป้ายระบุ: ทำกลับ |
อัปเดตรายละเอียดข้อมูลที่เป็นปัจจุบันและการจัดเรียงใหม่ พร้อมแหล่งอ้างอิงที่ชัดเจน |
||
บรรทัด 48: | บรรทัด 48: | ||
หลังการก่อสร้างแล้วเสร็จในเดือนเมษายน พ.ศ. 2551<ref name="ผู้จัดการ"/> ได้มีการทดลองเดินรถครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2551<ref name="railway1"/> และได้มีพิธีเปิดเดินรถปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2552 การนี้[[สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] เสด็จประทับรถไฟพระที่นั่งจาก[[สถานีรถไฟอุดรธานี]]ถึง[[สถานีรถไฟหนองคาย|หนองคาย]] เพื่อเป็นองค์ประธานในพิธีดังกล่าว จากนั้นพระองค์ประทับรถไฟพระที่นั่งจากสถานีรถไฟหนองคายไปยัง[[สถานีรถไฟท่านาแล้ง]]ใน[[ประเทศลาว]] ตามคำกราบทูลบังคมทูลของ[[บุนยัง วอละจิด]] รองประธานาธิบดีลาว แล้วจึงเสด็จกลับ<ref name="พระเทพ">{{cite web |url= http://www.manager.co.th/Local/ViewNews.aspx?NewsID=9520000025412 |title= “สมเด็จพระเทพฯ” เสด็จเปิดรถไฟไทย-ลาวปฐมฤกษ์ - ชาวลาวภูมิใจรถไฟสายประวัติศาสตร์เส้นทางแรก |author= |date= 5 มีนาคม 2552 |work= MGR Online |publisher= |accessdate= 28 เมษายน 2561 }}{{ลิงก์เสีย|date=พฤศจิกายน 2022 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref> |
หลังการก่อสร้างแล้วเสร็จในเดือนเมษายน พ.ศ. 2551<ref name="ผู้จัดการ"/> ได้มีการทดลองเดินรถครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2551<ref name="railway1"/> และได้มีพิธีเปิดเดินรถปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2552 การนี้[[สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] เสด็จประทับรถไฟพระที่นั่งจาก[[สถานีรถไฟอุดรธานี]]ถึง[[สถานีรถไฟหนองคาย|หนองคาย]] เพื่อเป็นองค์ประธานในพิธีดังกล่าว จากนั้นพระองค์ประทับรถไฟพระที่นั่งจากสถานีรถไฟหนองคายไปยัง[[สถานีรถไฟท่านาแล้ง]]ใน[[ประเทศลาว]] ตามคำกราบทูลบังคมทูลของ[[บุนยัง วอละจิด]] รองประธานาธิบดีลาว แล้วจึงเสด็จกลับ<ref name="พระเทพ">{{cite web |url= http://www.manager.co.th/Local/ViewNews.aspx?NewsID=9520000025412 |title= “สมเด็จพระเทพฯ” เสด็จเปิดรถไฟไทย-ลาวปฐมฤกษ์ - ชาวลาวภูมิใจรถไฟสายประวัติศาสตร์เส้นทางแรก |author= |date= 5 มีนาคม 2552 |work= MGR Online |publisher= |accessdate= 28 เมษายน 2561 }}{{ลิงก์เสีย|date=พฤศจิกายน 2022 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref> |
||
ผลของการเดินรถเส้นทางใหม่ที่เบนเส้นทางไปหาสะพานมิตรภาพนี้ ส่งผลให้สถานีหนองคาย (เก่า) เปลี่ยนชื่อเป็นสถานีรถไฟตลาดหนองคาย เพื่อป้องกันการสับสนกับ[[สถานีรถไฟหนองคาย]] (ใหม่) ภายหลังสถานีรถไฟตลาดหนองคายถูกยุบเป็นที่หยุดรถตลาดหนองคาย และยกเลิกการบริการเดินรถมายังที่หยุดตลาดหนองคายในปี พ.ศ. 2551 โดยการรถไฟแห่งประเทศไทยนำที่ดินของที่หยุดรถหนองคายจำนวน 30 ไร่ไปทำประโยชน์อื่นเพื่อสร้างรายได้<ref>{{cite web |url= https://www.home.co.th/hometips/detail/74717-สั่งรถไฟเร่งแผนที่ดิน-หลายแปลงมีลุ้นประมูล-ต่อสัญญารอบใหม่ |title= สั่งรถไฟเร่งแผนที่ดิน หลายแปลงมีลุ้นประมูล-ต่อสัญญารอบใหม่ |author= |date= 27 มิถุนายน 2556 |work= Home |publisher= |accessdate= 28 เมษายน 2561 }}{{ลิงก์เสีย|date=กันยายน 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref> |
ผลของการเดินรถเส้นทางใหม่ที่เบนเส้นทางไปหาสะพานมิตรภาพนี้ ส่งผลให้สถานีหนองคาย (เก่า) เปลี่ยนชื่อเป็นสถานีรถไฟตลาดหนองคาย เพื่อป้องกันการสับสนกับ[[สถานีรถไฟหนองคาย]] (ใหม่) ภายหลังสถานีรถไฟตลาดหนองคายถูกยุบเป็นที่หยุดรถตลาดหนองคาย และยกเลิกการบริการเดินรถมายังที่หยุดตลาดหนองคายในปี พ.ศ. 2551 โดยการรถไฟแห่งประเทศไทยนำที่ดินของที่หยุดรถหนองคายจำนวน 30 ไร่ไปทำประโยชน์อื่นเพื่อสร้างรายได้<ref>{{cite web |url= https://www.home.co.th/hometips/detail/74717-สั่งรถไฟเร่งแผนที่ดิน-หลายแปลงมีลุ้นประมูล-ต่อสัญญารอบใหม่ |title= สั่งรถไฟเร่งแผนที่ดิน หลายแปลงมีลุ้นประมูล-ต่อสัญญารอบใหม่ |author= |date= 27 มิถุนายน 2556 |work= Home |publisher= |accessdate= 28 เมษายน 2561 }}{{ลิงก์เสีย|date=กันยายน 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref> และแม้จะมีการเดินรถระหว่างประเทศก็ตาม แต่ที่ตั้งของสถานีรถไฟท่านาแล้งนั้นอยู่ไกลจากตัวเมืองนครหลวงเวียงจันทน์พอสมควร เพราะถ้าหากใช้บริการรถไฟก็ต้องใช้บริการรถโดยสารเพื่อเดินทางออกจากบ้านดงโพสีไปยังนครหลวงเวียงจันทน์อีกทอดหนึ่ง ดังนั้นการเดินทางด้วยรถไฟสายนี้จึงไม่ได้รับความนิยมเท่าใด<ref>{{cite web |url= http://www.tri.chula.ac.th/triresearch/connect/connect.html |title= ทางรถไฟที่เชื่อมต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน |author= สุนันทา เจริญปัญญายิ่ง |date= |work= สถาบันการขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |publisher=|accessdate= 3 พฤษภาคม 2561 }}</ref> |
||
=== ส่วนต่อขยาย === |
=== ส่วนต่อขยาย === |
||
23 มีนาคม พ.ศ. 2560 มีพิธีส่งมอบเปิดใช้ส่วนต่อขยายระยะที่ |
23 มีนาคม พ.ศ. 2560 มีพิธีส่งมอบเปิดใช้โครงการก่อสร้างส่วนต่อขยายระยะที่สอง สำหรับงานก่อสร้างระบบราง งานก่อสร้างสถานีรถไฟ และงานก่อสร้างจุดผ่านถนนเสมอระดับ ด้วยวงเงิน 994.68 ล้านบาท และงานก่อสร้างสถานีกองเก็บตู้สินค้าของสถานีรถไฟท่านาแล้ง ระบบอาณัติสัญญาณ ระบบรางเข้ากองเก็บตู้สินค้า และอาคารสำนักงานกรมรถไฟและอาคารที่พักเจ้าหน้าที่ วงเงิน 655.23 ล้านบาท<ref name="สถานทูต">{{cite web |url= https://thaibizlaos.com/lao/news/detail.php?cate=news-hilight&id=20935 |title= พิธีส่งมอบและเปิดใช้โครงการก่อสร้างทางรถไฟไทย-ลาว ระยะที่ 2 (ท่านาแล้ง-เวียงจันทน์) |author= |date= 24 มีนาคม 2560 |work= สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ เวียงจันทน์ |publisher= |accessdate= 10 ตุลาคม 2567 |archive-date= 2017-07-20 |archive-url= https://web.archive.org/web/20170720180249/http://vientiane.thaiembassy.org/th/news/activity/detail.php?ID=429 |url-status= dead }}</ref> |
||
28 มิถุนายน พ.ศ. 2562 มีการลงนามสัญญาการก่อสร้างทางรถไฟระยะที่สอง เริ่มตั้งแต่ปลายย่านลานขนส่งสินค้าท่านาแล้ง ถึงย่านสถานีรถไฟเวียงจันทน์ (คำสะหวาด) เป็นงานก่อสร้างทางรถไฟแบบทางเดี่ยว<ref>{{cite web |url= https://www.facebook.com/Thailand.Infra/posts/pfbid0fo4RYhj8tmGvtVxoRktv8kCdBM2bHjH9K438avGKXSvB3YtwrLpVwp3kEzyYJBYol |title= เซ็นสัญญาแล้ว ทางรถไฟไทย-ลาว ส่วนต่อขยาย ท่านาแล้ง-เวียงจันทร์|work =โครงสร้างพื้นฐานประเทศไทย}}</ref> |
|||
⚫ | กระทั่งวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2566 ได้ทำพิธีเปิดสถานีรถไฟคำสะหวาด หลังจากล่าช้าจากกำหนดการเปิด โดยมี[[เศรษฐา ทวีสิน]] และ[[สอนไซ สีพันดอน]] นายกรัฐมนตรีของไทยและลาว เป็นประธานในพิธี<ref>{{cite web |url= https://mgronline.com/uptodate/detail/9660000097496 |title= ไทย-ลาว ร่วมเปิดสถานีรถไฟเวียงจันทน์ (คำสะหวาด) |author=|date= 30 ตุลาคม 2566 |work= ผู้จัดการออนไลน์ |publisher=|accessdate= 16 ธันวาคม 2566}}</ref> |
||
⚫ | กระทั่งวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2566 ได้ทำพิธีเปิดสถานีรถไฟคำสะหวาด หลังจากล่าช้าจากกำหนดการเปิด โดยมี[[เศรษฐา ทวีสิน]] และ[[สอนไซ สีพันดอน]] นายกรัฐมนตรีของไทยและลาว เป็นประธานในพิธี<ref>{{cite web |url= https://mgronline.com/uptodate/detail/9660000097496 |title= ไทย-ลาว ร่วมเปิดสถานีรถไฟเวียงจันทน์ (คำสะหวาด) |author=|date= 30 ตุลาคม 2566 |work= ผู้จัดการออนไลน์ |publisher=|accessdate= 16 ธันวาคม 2566}}</ref> และมีการส่งเจ้าหน้าที่รัฐวิสาหกิจการรถไฟแห่งชาติลาวไปอบรมกับเจ้าหน้าที่การรถไฟแห่งประเทศไทย<ref name= "ลาว">{{cite web |url= https://rayong.prd.go.th/th/content/category/detail/id/33/iid/229241 |title= ไทย-ลาว เปิดสถานีรถไฟเวียงจันทน์ (คำสะหวาด) |author=|date= 30 ตุลาคม 2566 |work= สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดระยอง |publisher=|accessdate= 16 ธันวาคม 2566}}</ref> ซึ่งมีการเปิดให้บริการขบวนรถโดยสารระหว่างประเทศ เที่ยวแรกในวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2567 ให้บริการขบวนรถจาก[[สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์]] ไปยังสถานีรถไฟคำสะหวาด<ref name="ผู้จัดการ67">{{cite web |url= https://mgronline.com/onlinesection/detail/9670000059779 |title= รู้จักก่อนขึ้นจริง รถไฟไทย-ลาว สุดเส้นทางที่สถานีเวียงจันทน์ |author=|date= 17 กรกฎาคม 2567 |work=ผู้จัดการออนไลน์ |publisher=|accessdate= 28 กันยายน 2567 }}</ref> และยกเลิกการจอดรับผู้โดยสารที่สถานีรถไฟท่านาแล้ง<ref>{{cite web|url=https://www.drt.go.th/public-relations/ไทย-ลาวเปิดขบวนรถโดยสาร|title=ไทย-ลาวเปิดขบวนรถโดยสารระหว่างประเทศ เที่ยวปฐมฤกษ์เส้นทางกรุงเทพอภิวัฒน์-เวียงจันทน์ (คำสะหวาด) เชื่อมสองเมืองหลวงด้วยระบบราง|date=20 กรกฏาคม 2564}}</ref> |
||
== เส้นทาง == |
== เส้นทาง == |
||
[[ไฟล์:Thailand - Laos Train 01.jpg|thumb|การเดินรถจากท่านาแล้งไปหนองคาย เมื่อ พ.ศ. 2552]] |
[[ไฟล์:Thailand - Laos Train 01.jpg|thumb|การเดินรถจากท่านาแล้งไปหนองคาย เมื่อ พ.ศ. 2552]] |
||
ทางรถไฟสายหนองคาย– |
ทางรถไฟสายหนองคาย–คำสะหวาด เป็นส่วนต่อขยายของเส้นทาง[[รายชื่อสถานีรถไฟ สายตะวันออกเฉียงเหนือ#สายอีสานตอนบน (ชุมทางถนนจิระ–หนองคาย)|ทางรถไฟสายชุมทางถนนจิระ–หนองคาย]]ของ[[การรถไฟแห่งประเทศไทย]] โดยมี[[สถานีรถไฟหนองคาย]]เป็นสถานีปลายทางของไทย เมื่อเดินรถผ่านกึ่งกลางของ[[สะพานมิตรภาพไทย–ลาว 1 (หนองคาย–เวียงจันทน์)|สะพานมิตรภาพไทย–ลาว 1]] จะเข้าสู่พรมแดนของประเทศลาว และผ่านสถานีแรกคือ[[สถานีรถไฟท่านาแล้ง]] ก่อนไปสิ้นสุดการเดินรถไฟที่[[สถานีรถไฟคำสะหวาด]] รวมระยะทางทั้งสิ้น 13.96 กิโลเมตร ห่างจาก[[สถานีรถไฟนครหลวงเวียงจันทน์]] ของ[[ทางรถไฟสายเวียงจันทน์–บ่อเต็น|ทางรถไฟลาว–จีน]] ที่บ้านไซ ราว 10 กิโลเมตร<ref>{{cite web |url= https://www.bangkokbiznews.com/columnist/979571 |title= ข้อมูล "รถไฟจีน-ลาว" |author= วรากรณ์ สามโกเศศ |date= 28 ธันวาคม 2564 |work= กรุงเทพธุรกิจ |publisher=|accessdate= 3 กุมภาพันธ์ 2565}}</ref> |
||
แม้จะมีการเดินรถระหว่างประเทศก็ตาม แต่ที่ตั้งของสถานีรถไฟท่านาแล้งนั้นอยู่ไกลจากตัวเมืองนครหลวงเวียงจันทน์พอสมควร เพราะถ้าหากใช้บริการรถไฟก็ต้องใช้บริการรถโดยสารเพื่อเดินทางออกจากบ้านดงโพสีไปยังนครหลวงเวียงจันทน์อีกทอดหนึ่ง ดังนั้นการเดินทางด้วยรถไฟสายนี้จึงไม่ได้รับความนิยมเท่าใด<ref>{{cite web |url= http://www.tri.chula.ac.th/triresearch/connect/connect.html |title= ทางรถไฟที่เชื่อมต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน |author= สุนันทา เจริญปัญญายิ่ง |date= |work= สถาบันการขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |publisher=|accessdate= 3 พฤษภาคม 2561 }}</ref> |
|||
ปัจจุบันประเทศลาวมีโครงการก่อสร้างส่วนต่อขยายระยะที่สอง ก่อสร้างเส้นทางจากสถานีรถไฟท่านาแล้งไปยัง[[สถานีรถไฟคำสะหวาด]] ระยะทาง 7.5 กิโลเมตร<ref name="สถานทูต"/> ณ บ้านคำสะหวาด [[ไชยเชษฐา (นครหลวงเวียงจันทน์)|เมืองไชยเชษฐา]] [[นครหลวงเวียงจันทน์]]<ref>{{cite web |url= http://www.thansettakij.com/content/171215 |title= ลาวเตรียมสร้างทางรถไฟท่านาแล้ง-เวียงจันทน์ภายในสิ้นปีนี้ |author=|date= 29 มิถุนายน 2560 |work= ฐานเศรษฐกิจ |publisher=|accessdate=28 เมษายน 2561}}</ref> ด้วยวงเงิน 994.68 ล้านบาท<ref name="สถานทูต"/> ซึ่งตั้งอยู่ในย่านใจกลางเมืองหลวง ห่างจาก[[พระธาตุหลวง]] อันเป็นจุดหมายตาสำคัญเพียง 4 กิโลเมตร<ref name="trweekly-sep10">{{cite news|url=http://www.ttrweekly.com/site/2010/09/vientiane-rail-track-on-the-way/|title=Vientiane rail track on the way|access-date=2011-03-13|date=2010-09-03|work=TTR Weekly|author=Rapeepat Mantanarat|url-status=dead|archive-url=https://web.archive.org/web/20131225213841/http://www.ttrweekly.com/site/2010/09/vientiane-rail-track-on-the-way/|archive-date=2013-12-25}}</ref> และห่างจาก[[สถานีรถไฟนครหลวงเวียงจันทน์]] ของ[[ทางรถไฟสายเวียงจันทน์–บ่อเต็น]] ที่บ้านไซ ราว 10 กิโลเมตร<ref>{{cite web |url= https://www.bangkokbiznews.com/columnist/979571 |title= ข้อมูล "รถไฟจีน-ลาว" |author= วรากรณ์ สามโกเศศ |date= 28 ธันวาคม 2564 |work= กรุงเทพธุรกิจ |publisher=|accessdate= 3 กุมภาพันธ์ 2565}}</ref> |
|||
== สถานี == |
== สถานี == |
||
บรรทัด 133: | บรรทัด 131: | ||
== การเดินรถ == |
== การเดินรถ == |
||
ในช่วงแรกการเดินรถในเส้นทางหนองคาย–ท่านาแล้งตั้งแต่เดือนมีนาคม พ.ศ. 2552 ดำเนินการโดยการรถไฟแห่งประเทศไทย เพราะประเทศลาวยังไม่มีกิจการรถไฟเป็นของตนเอง มี |
ในช่วงแรกของการเดินรถในเส้นทางหนองคาย–ท่านาแล้งตั้งแต่เดือนมีนาคม พ.ศ. 2552 ดำเนินการโดยการรถไฟแห่งประเทศไทย เพราะประเทศลาวยังไม่มีกิจการรถไฟเป็นของตนเอง มีการเดินรถวันละ 4 เที่ยวระหว่างสถานีรถไฟหนองคายกับท่านาแล้งทุกวัน ระยะเวลาเดินทางราว 15 นาที ก่อนเดินทางต้องทำหนังสือผ่านแดนก่อนเดินทางทุกครั้ง<ref name="พระเทพ"/> ต่อมาเมื่อเปิดให้บริการส่วนต่อขยายระยะที่ 2 ตั้งแต่วันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2567 ไปยังสถานีรถไฟคำสะหวาด ได้ยกเลิกการจอดรับผู้โดยสารที่สถานีรถไฟท่านาแล้ง และเปลี่ยนเป็นพื้นที่ขนส่งสินค้า<ref>https://readthecloud.co/train-to-vientiane/ |
||
รถไฟจะไป ວຽງຈັນ</ref> และมีการขยายการเดินรถระหว่างประเทศไปและกลับ 4 เที่ยว ได้แก่ ขบวน 133/134 จากสถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์–คำสะหวาด–กลางกรุงเทพอภิวัฒน์ และขบวน 147/148 [[สถานีรถไฟอุดรธานี|สถานีอุดรธานี]]–คำสะหวาด–อุดรธานี<ref name="ผู้จัดการ67"/><ref>https://www.thaipbs.or.th/news/content/342004 ทดสอบรถไฟกรุงเทพอภิวัฒน์-เวียงจันทน์ เริ่มบริการ 19 ก.ค.นี้</ref><ref>https://www.thaipbs.or.th/news/content/342222 เปิดหวูดรถไฟ "ไทย-ลาว" จาก "กรุงเทพอภิวัฒน์" ถึง "เวียงจันทน์"</ref> |
|||
== ดูเพิ่ม == |
== ดูเพิ่ม == |
||
* [[การขนส่งในประเทศลาว]] |
* [[การขนส่งในประเทศลาว]] |
||
* [[ทางรถไฟสายเวียงจันทน์–บ่อเต็น]] |
|||
== อ้างอิง == |
== อ้างอิง == |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:54, 10 ตุลาคม 2567
ทางรถไฟสายหนองคาย–เวียงจันทน์ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ขบวนรถไฟระหว่างประเทศ ขณะเข้าเทียบชานชาลาสถานีรถไฟคำสะหวาด | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ข้อมูลทั่วไป | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เจ้าของ | การรถไฟแห่งประเทศไทย | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ที่ตั้ง | จังหวัดหนองคาย ประเทศไทย นครหลวงเวียงจันทน์ ประเทศลาว | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ปลายทาง | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
จำนวนสถานี | 3 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ประวัติ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เปิดเมื่อ | 5 มีนาคม พ.ศ. 2552 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ข้อมูลทางเทคนิค | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ระยะทาง | 13.96 กม. (8.67 ไมล์) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
รางกว้าง | 1,000 mm (3 ft 3 3⁄8 in) มีเตอร์เกจ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
ทางรถไฟสายหนองคาย–เวียงจันทน์[1] เป็นทางรถไฟระหว่างประเทศที่เชื่อมประเทศไทยและประเทศลาว มีระยะทางทั้งหมด 13.96 กิโลเมตร มีจุดเริ่มต้นจากสถานีรถไฟหนองคายข้ามสะพานมิตรภาพไทย–ลาว 1 จนถึงสถานีปลายทางคือคำสะหวาด เคยเป็นเส้นทางรถไฟเพียงสายเดียวของประเทศลาว ตั้งแต่ พ.ศ. 2552–2564 มีระยะทาง 3.5 กิโลเมตรในเขตแดนของลาว[2][3][4]
ประวัติ
การก่อสร้างช่วงแรก
ทางรถไฟสายหนองคาย–เวียงจันทน์เป็นส่วนหนึ่งของโครงการทางรถไฟผ่านทวีปเอเชียขององค์การสหประชาชาติ ในปี พ.ศ. 2543 รัฐบาลไทยเล็งเห็นถึงความสำคัญของกิจการรถไฟ จึงสร้างรางรถไฟไว้บริเวณกลางสะพานมิตรภาพไทย–ลาว 1 จากนั้นได้ให้การรถไฟแห่งประเทศไทยก่อสร้างทางรถไฟจากกลางสะพานมิตรภาพเชื่อมต่อกับสถานีรถไฟหนองคายใหม่[2] เป็นระยะทาง 2.657 กิโลเมตร[5]
ทว่ารัฐบาลลาวประสบปัญหาเศรษฐกิจฟองสบู่แตกในปี พ.ศ. 2540 การก่อสร้างจึงหยุดชะงักไป ทางรัฐบาลไทยจึงให้ความช่วยเหลือโดยการให้การรถไฟแห่งประเทศไทยว่าจ้างบริษัทที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบโครงการในปี พ.ศ. 2543 และสำเร็จในปี พ.ศ. 2544 โดยจะเป็นการสร้างเส้นทางรถไฟจากสะพานมิตรภาพไปยังบ้านดงโพสี เมืองหาดทรายฟอง นครหลวงเวียงจันทน์เป็นระยะทาง 3.5 กิโลเมตร[2][3][4] จากนั้นจึงลงนามในสัญญารับการช่วยเหลือจากรัฐบาลไทยในจำนวนวงเงิน 197 ล้านบาท ในจำนวนนี้ร้อยละ 30 เป็นเงินให้เปล่า ส่วนอีกร้อยละ 70 เป็นเงินกู้ยืมดอกเบี้ยต่ำ[2][3][4][6] เริ่มก่อสร้างเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2549[2] ระหว่างการก่อสร้าง รัฐบาลลาวต้องทำการบุกเบิกพื้นที่ป่า โยกย้ายสิ่งกีดขวางออกจากแนวทางรถไฟ รวมทั้งเวนคืนที่ดินราษฎรบ้านดงโพสีออกไปสามหลัง ใช้งบประมาณ 15 ล้านกีบ และและมอบข้าวสารจำนวน 8.41 ตัน ชดเชยแก่ราษฎรที่ถูกเวนคืนพื้นที่ทำนา และใช้งบประมาณชดเชย 24,390,800 กีบ[2]
หลังการก่อสร้างแล้วเสร็จในเดือนเมษายน พ.ศ. 2551[2] ได้มีการทดลองเดินรถครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2551[4] และได้มีพิธีเปิดเดินรถปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2552 การนี้สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จประทับรถไฟพระที่นั่งจากสถานีรถไฟอุดรธานีถึงหนองคาย เพื่อเป็นองค์ประธานในพิธีดังกล่าว จากนั้นพระองค์ประทับรถไฟพระที่นั่งจากสถานีรถไฟหนองคายไปยังสถานีรถไฟท่านาแล้งในประเทศลาว ตามคำกราบทูลบังคมทูลของบุนยัง วอละจิด รองประธานาธิบดีลาว แล้วจึงเสด็จกลับ[7]
ผลของการเดินรถเส้นทางใหม่ที่เบนเส้นทางไปหาสะพานมิตรภาพนี้ ส่งผลให้สถานีหนองคาย (เก่า) เปลี่ยนชื่อเป็นสถานีรถไฟตลาดหนองคาย เพื่อป้องกันการสับสนกับสถานีรถไฟหนองคาย (ใหม่) ภายหลังสถานีรถไฟตลาดหนองคายถูกยุบเป็นที่หยุดรถตลาดหนองคาย และยกเลิกการบริการเดินรถมายังที่หยุดตลาดหนองคายในปี พ.ศ. 2551 โดยการรถไฟแห่งประเทศไทยนำที่ดินของที่หยุดรถหนองคายจำนวน 30 ไร่ไปทำประโยชน์อื่นเพื่อสร้างรายได้[8] และแม้จะมีการเดินรถระหว่างประเทศก็ตาม แต่ที่ตั้งของสถานีรถไฟท่านาแล้งนั้นอยู่ไกลจากตัวเมืองนครหลวงเวียงจันทน์พอสมควร เพราะถ้าหากใช้บริการรถไฟก็ต้องใช้บริการรถโดยสารเพื่อเดินทางออกจากบ้านดงโพสีไปยังนครหลวงเวียงจันทน์อีกทอดหนึ่ง ดังนั้นการเดินทางด้วยรถไฟสายนี้จึงไม่ได้รับความนิยมเท่าใด[9]
ส่วนต่อขยาย
23 มีนาคม พ.ศ. 2560 มีพิธีส่งมอบเปิดใช้โครงการก่อสร้างส่วนต่อขยายระยะที่สอง สำหรับงานก่อสร้างระบบราง งานก่อสร้างสถานีรถไฟ และงานก่อสร้างจุดผ่านถนนเสมอระดับ ด้วยวงเงิน 994.68 ล้านบาท และงานก่อสร้างสถานีกองเก็บตู้สินค้าของสถานีรถไฟท่านาแล้ง ระบบอาณัติสัญญาณ ระบบรางเข้ากองเก็บตู้สินค้า และอาคารสำนักงานกรมรถไฟและอาคารที่พักเจ้าหน้าที่ วงเงิน 655.23 ล้านบาท[10]
28 มิถุนายน พ.ศ. 2562 มีการลงนามสัญญาการก่อสร้างทางรถไฟระยะที่สอง เริ่มตั้งแต่ปลายย่านลานขนส่งสินค้าท่านาแล้ง ถึงย่านสถานีรถไฟเวียงจันทน์ (คำสะหวาด) เป็นงานก่อสร้างทางรถไฟแบบทางเดี่ยว[11]
กระทั่งวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2566 ได้ทำพิธีเปิดสถานีรถไฟคำสะหวาด หลังจากล่าช้าจากกำหนดการเปิด โดยมีเศรษฐา ทวีสิน และสอนไซ สีพันดอน นายกรัฐมนตรีของไทยและลาว เป็นประธานในพิธี[12] และมีการส่งเจ้าหน้าที่รัฐวิสาหกิจการรถไฟแห่งชาติลาวไปอบรมกับเจ้าหน้าที่การรถไฟแห่งประเทศไทย[13] ซึ่งมีการเปิดให้บริการขบวนรถโดยสารระหว่างประเทศ เที่ยวแรกในวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2567 ให้บริการขบวนรถจากสถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ ไปยังสถานีรถไฟคำสะหวาด[14] และยกเลิกการจอดรับผู้โดยสารที่สถานีรถไฟท่านาแล้ง[15]
เส้นทาง
ทางรถไฟสายหนองคาย–คำสะหวาด เป็นส่วนต่อขยายของเส้นทางทางรถไฟสายชุมทางถนนจิระ–หนองคายของการรถไฟแห่งประเทศไทย โดยมีสถานีรถไฟหนองคายเป็นสถานีปลายทางของไทย เมื่อเดินรถผ่านกึ่งกลางของสะพานมิตรภาพไทย–ลาว 1 จะเข้าสู่พรมแดนของประเทศลาว และผ่านสถานีแรกคือสถานีรถไฟท่านาแล้ง ก่อนไปสิ้นสุดการเดินรถไฟที่สถานีรถไฟคำสะหวาด รวมระยะทางทั้งสิ้น 13.96 กิโลเมตร ห่างจากสถานีรถไฟนครหลวงเวียงจันทน์ ของทางรถไฟลาว–จีน ที่บ้านไซ ราว 10 กิโลเมตร[16]
สถานี
ทางรถไฟสายหนองคาย–เวียงจันทน์ ปัจจุบันประกอบไปด้วยสถานีสามสถานี ดังนี้
ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ | รหัสสถานี | ระยะทางจาก กท. | ชั้นสถานี | ที่ตั้ง | หมายเหตุ | |
---|---|---|---|---|---|---|
เลข | ตัวย่อ | |||||
หนองคาย | 2208 | นค. | 621.10 | 1 | หนองคาย ประเทศไทย | เชื่อมต่อ สายตะวันออกเฉียงเหนือ สายหลักหนองคาย |
ท่านาแล้ง | 7201 | ลล. | 626.58 | 2 | นครหลวงเวียงจันทน์ ประเทศลาว | |
คำสะหวาด | 635.06 | 1 |
ทางแยกตลาดหนองคาย
ทางแยกตลาดหนองคาย เดิมเป็นอดีตสถานีรถไฟประจำจังหวัดหนองคาย และส่วนหนึ่งของทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน (ชุมทางถนนจิระ–หนองคาย) แต่หลังการก่อสร้างสถานีรถไฟหนองคายแห่งใหม่ที่เบนเส้นทางตามสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่หนึ่ง จึงยุบสถานีรถไฟหนองคายแห่งเดิม เป็นที่หยุดรถไฟตลาดหนองคาย มีสถานีหนึ่งแห่งและที่หยุดรถไฟหนึ่งแห่ง[17] กระทั่ง พ.ศ. 2551 การรถไฟแห่งประเทศไทยได้ยกเลิกการเดินรถเข้าไปยังที่หยุดรถไฟตลาดหนองคาย
ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ | รหัสสถานี | ระยะทางจาก กท. | ชั้นสถานี | ที่ตั้ง | หมายเหตุ | |
---|---|---|---|---|---|---|
เลข | ตัวย่อ | |||||
หนองคาย | 2208 | นค. | 621.10 | 1 | หนองคาย ประเทศไทย | |
2209 | ตง. | 623.58 | ที่หยุดรถ | ยกเลิก |
การเดินรถ
ในช่วงแรกของการเดินรถในเส้นทางหนองคาย–ท่านาแล้งตั้งแต่เดือนมีนาคม พ.ศ. 2552 ดำเนินการโดยการรถไฟแห่งประเทศไทย เพราะประเทศลาวยังไม่มีกิจการรถไฟเป็นของตนเอง มีการเดินรถวันละ 4 เที่ยวระหว่างสถานีรถไฟหนองคายกับท่านาแล้งทุกวัน ระยะเวลาเดินทางราว 15 นาที ก่อนเดินทางต้องทำหนังสือผ่านแดนก่อนเดินทางทุกครั้ง[7] ต่อมาเมื่อเปิดให้บริการส่วนต่อขยายระยะที่ 2 ตั้งแต่วันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2567 ไปยังสถานีรถไฟคำสะหวาด ได้ยกเลิกการจอดรับผู้โดยสารที่สถานีรถไฟท่านาแล้ง และเปลี่ยนเป็นพื้นที่ขนส่งสินค้า[18] และมีการขยายการเดินรถระหว่างประเทศไปและกลับ 4 เที่ยว ได้แก่ ขบวน 133/134 จากสถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์–คำสะหวาด–กลางกรุงเทพอภิวัฒน์ และขบวน 147/148 สถานีอุดรธานี–คำสะหวาด–อุดรธานี[14][19][20]
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- ↑ "พระราชบัญญัติ เวนคืนอสังหาริมทรัพย์ ในท้องที่ตำบลมีชัย และตำบลหนองกอมเกาะ อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย เพื่อสร้างทางรถไฟสายหนองคาย–เวียงจันทน์ พ.ศ. 2540" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 114 (66 ก): 13. 10 พฤศจิกายน 2540.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 "เปิดเดินรถไฟหนองคาย-ท่านาแล้ง 5 มี.ค.ความสำเร็จอีกขั้นของลาวจาก Land lock สู่ Land link". MGR Online. 25 กุมภาพันธ์ 2552. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help)[ลิงก์เสีย] - ↑ 3.0 3.1 3.2 "Laos link launched". Railway Gazette (ภาษาอังกฤษ). 1 มีนาคม 2550. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-07-10. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ 4.0 4.1 4.2 4.3 "Testing takes train into Laos". Railway Gazette (ภาษาอังกฤษ). 1 มีนาคม 2551. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-07-10. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ "ประวัติการรถไฟแห่งประเทศไทย". การรถไฟแห่งประเทศไทย. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-04-29. สืบค้นเมื่อ 3 พฤษภาคม 2561.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ "เร่งเครื่องรถไฟไทย-ลาวเชื่อม"ท่านาแล้ง-เวียงจันทน์"รับเออีซี". ประชาชาติธุรกิจออนไลน์. 16 พฤษภาคม 2557. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ 7.0 7.1 ""สมเด็จพระเทพฯ" เสด็จเปิดรถไฟไทย-ลาวปฐมฤกษ์ - ชาวลาวภูมิใจรถไฟสายประวัติศาสตร์เส้นทางแรก". MGR Online. 5 มีนาคม 2552. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help)[ลิงก์เสีย] - ↑ "สั่งรถไฟเร่งแผนที่ดิน หลายแปลงมีลุ้นประมูล-ต่อสัญญารอบใหม่". Home. 27 มิถุนายน 2556. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help)[ลิงก์เสีย] - ↑ สุนันทา เจริญปัญญายิ่ง. "ทางรถไฟที่เชื่อมต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน". สถาบันการขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สืบค้นเมื่อ 3 พฤษภาคม 2561.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ "พิธีส่งมอบและเปิดใช้โครงการก่อสร้างทางรถไฟไทย-ลาว ระยะที่ 2 (ท่านาแล้ง-เวียงจันทน์)". สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ เวียงจันทน์. 24 มีนาคม 2560. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-07-20. สืบค้นเมื่อ 10 ตุลาคม 2567.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ "เซ็นสัญญาแล้ว ทางรถไฟไทย-ลาว ส่วนต่อขยาย ท่านาแล้ง-เวียงจันทร์". โครงสร้างพื้นฐานประเทศไทย.
- ↑ "ไทย-ลาว ร่วมเปิดสถานีรถไฟเวียงจันทน์ (คำสะหวาด)". ผู้จัดการออนไลน์. 30 ตุลาคม 2566. สืบค้นเมื่อ 16 ธันวาคม 2566.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ "ไทย-ลาว เปิดสถานีรถไฟเวียงจันทน์ (คำสะหวาด)". สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดระยอง. 30 ตุลาคม 2566. สืบค้นเมื่อ 16 ธันวาคม 2566.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ 14.0 14.1 "รู้จักก่อนขึ้นจริง รถไฟไทย-ลาว สุดเส้นทางที่สถานีเวียงจันทน์". ผู้จัดการออนไลน์. 17 กรกฎาคม 2567. สืบค้นเมื่อ 28 กันยายน 2567.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ "ไทย-ลาวเปิดขบวนรถโดยสารระหว่างประเทศ เที่ยวปฐมฤกษ์เส้นทางกรุงเทพอภิวัฒน์-เวียงจันทน์ (คำสะหวาด) เชื่อมสองเมืองหลวงด้วยระบบราง". 20 กรกฏาคม 2564.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|date=
(help) - ↑ วรากรณ์ สามโกเศศ (28 ธันวาคม 2564). "ข้อมูล "รถไฟจีน-ลาว"". กรุงเทพธุรกิจ. สืบค้นเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2565.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ เอกรัช ศรีอาระยันพงษ์ (บรรณาธิการบริหาร) (2562). สายย่อ (PDF). วารสารรถไฟสัมพันธ์ (4:2562). p. 8.
- ↑ https://readthecloud.co/train-to-vientiane/ รถไฟจะไป ວຽງຈັນ
- ↑ https://www.thaipbs.or.th/news/content/342004 ทดสอบรถไฟกรุงเทพอภิวัฒน์-เวียงจันทน์ เริ่มบริการ 19 ก.ค.นี้
- ↑ https://www.thaipbs.or.th/news/content/342222 เปิดหวูดรถไฟ "ไทย-ลาว" จาก "กรุงเทพอภิวัฒน์" ถึง "เวียงจันทน์"