ยูฟ่าซูเปอร์คัพ 2019
โวดาโฟนพาร์ก ใน อิสตันบูล จะเป็นสนามที่ใช้ในการแข่งขันนี้ | |||||||
| |||||||
หลังต่อเวลาพิเศษ ลิเวอร์พูล ชนะ ลูกโทษ 5–4 | |||||||
วันที่ | 14 สิงหาคม พ.ศ. 2562 | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
สนาม | โวดาโฟนพาร์ก, อิสตันบูล | ||||||
ผู้เล่นยอดเยี่ยม ประจำนัด | ซาดีโย มาเน (ลิเวอร์พูล)[1] | ||||||
ผู้ตัดสิน | สเตฟานี ฟรัปปาร์ (ฝรั่งเศส)[2] | ||||||
สภาพอากาศ | มีเมฆมากในตอนกลางคืน 26 องศาเซลเซียส (79 องศาฟาเรนไฮต์) 73% ความชื้นสัมพัทธ์[3] | ||||||
ยูฟ่าซูเปอร์คัพ เป็นการแข่งขันยูฟ่าซูเปอร์คัพ ครั้งที่ 44 ซึ่งเป็นการแข่งขันฟุตบอลประจำปีที่จัดขึ้นโดยยูฟ่า โดยจะเป็นนัดการแข่งขันระหว่างสโมสรที่ชนะเลิศยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก กับ สโมสรที่ชนะเลิศยูฟ่ายูโรปาลีก โดยในปีนี้เป็นการแข่งขันระหว่างสโมสรจากอังกฤษ ระหว่าง ลิเวอร์พูล สโมสรชนะเลิศยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2018–19 กับ เชลซี สโมสรชนะเลิศยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2018–19[4] โดยจะทำการแข่งขันที่โวดาโฟนพาร์ก ในวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2562[5] ซึ่งการแข่งขันนี้เป็นครั้งแรกที่สโมสรจากประเทศอังกฤษพบกันในการแข่งขันยูฟ่าซูเปอร์คัพ และเป็นครั้งที่ 8 ที่สโมสรจากประเทศเดียวกันพบกันเองในการแข่งขันนี้
ระบบผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ (VAR) จะใช้ในการแข่งขันนี้[6]
สโมสร
[แก้]สโมสร | การเข้ารอบ | การแข่งขันล่าสุด (ตัวหนาคือชนะเลิศ) |
---|---|---|
ลิเวอร์พูล | ชนะเลิศ ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2018–19 | 5 (1977, 1978, 1984, 2001, 2005) |
เชลซี | ชนะเลิศ ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2018–19 | 3 (1998, 2012, 2013) |
สนามแข่งขัน
[แก้]เป็นการแข่งขันยูฟ่าซูเปอร์คัพที่จัดขึ้นที่ประเทศตุรกี และเป็นการแข่งขันระดับสโมสรที่จัดขึ้นขึ้นโดยยูฟ่าครั้งที่ 3 ที่จัดขึ้นที่ประเทศนี้ หลังจาก ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก นัดชิงชนะเลิศ 2005 ที่ สนามกีฬาโอลิมปิกอาทาทืร์ค และ ยูฟ่าคัพ นัดชิงชนะเลิศ 2009 ที่ ซูครูซาราคอกลูสเตเดียม ซึ่งทั้งหมดจัดขึ้นที่ อิสตันบูล[7]
โดยครั้งนี้จะขึ้นที่สนามเหย้าของเบชิกทัช ซึ่งตามกฎของยูฟ่าไม่อนุญาตให้ใช้ชื่อผู้สนับสนุนของสนาม ทำให้ต้องใช้ชื่อ เบชิกทัชพาร์ก ในการแข่งขันยูฟ่า[7]
การคัดเลือกเจ้าภาพ
[แก้]มีการเปิดให้เสนอชื่อเจ้าภาพในวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2559 โดยเป็นครั้งแรกที่ยูฟ่าทำการคัดเลือกสนามในนัดชิงชนะเลิศของทั้ง ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก, ยูฟ่ายูโรปาลีก, ยูฟ่าวีเมนส์แชมเปียนส์ลีก และ ยูฟ่าซูเปอร์คัพ พร้อมกัน[8][9]
ต่อมา ยูฟ่าได้ประกาศ 9 สมาคมที่ได้รับการคัดเลือกในวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560[10] และได้ยืนยันการเสนอชื่อสนามแข่งขันจาก 7 สมาคม อีกครั้งในวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2560[11]
ประเทศ | สนาม | เมือง | ความจุ | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
แอลเบเนีย | สนามกีฬาแห่งชาติ | ติรานา | 22,500 ที่นั่ง | |
ฝรั่งเศส | สตาดียอมมูว์นีซีปาล | ตูลูซ | 33,150 ที่นั่ง | |
อิสราเอล | แซมมีโอเฟร์สเตเดียม | ไฮฟา | 30,870 ที่นั่ง | |
คาซัคสถาน | อัสตานาอารีนา | นูร์-ซุลตัน | 30,244 ที่นั่ง | เสนอชื่อเป็นสนามแข่งขันยูฟ่าวีเมนส์แชมเปียนส์ลีก รอบชิงชนะเลิศ 2019 ด้วย |
ไอร์แลนด์เหนือ | วินเซอร์พาร์ก | เบลฟาสต์ | 18,434 ที่นั่ง | |
โปแลนด์ | สตาดียอมอีแนร์กากดัญสก์ | กดัญสก์ | 41,160 ที่นั่ง[12] | ก่อนหน้านี้เสนอชื่อ สนามกีฬาแห่งชาติวอร์ซอ ใน วอร์ซอ |
ตุรกี | โวดาโฟนพาร์ก | อิสตันบูล | 41,188 ที่นั่ง[13] | เสนอชื่อเป็นสนามแข่งขัน ยูฟ่ายูโรปาลีก รอบชิงชนะเลิศ 2019 ด้วย |
สมาคมที่ให้ความสนใจที่จะเป็นเจ้าภาพ แต่ไม่ได้เสนอชื่อ:
โวดาโฟนพาร์ก ได้รับคัดเลือกให้เป็นสนามแข่งขันจากคณะกรรมการยูฟ่าในวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2560[14][5]
นัด
[แก้]ผู้ตัดสิน
[แก้]เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2562, ยูฟ่าได้ประกาศออกมาว่า สเตฟานี ฟรัปปาร์ ของฝรั่งเศสได้ทำหน้าที่ตัดสินในนัดนี้, กลายเป็นผู้หญิงคนแรกสู่การเป็นผู้ตัดสินนัดชิงชนะเลิศของการแข่งขันยูฟ่าทีมชาย. ฟรัปปาร์ได้รับการเสนอชื่อให้เป็น ผู้ตัดสินฟีฟ่า นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 2009[15]
รายละเอียด
[แก้]ลิเวอร์พูล | 2–2 (ต่อเวลาพิเศษ) | เชลซี |
---|---|---|
มาเน 48', 95' | รายงาน | ฌีรู 36' ฌอร์ฌีญู 101' (ลูกโทษ) |
ลูกโทษ | ||
ฟีร์มีนู ฟาบิญญู โอรีกี อเล็กซานเดอร์-อาร์โนลด์ เศาะลาห์ |
5–4 | ฌอร์ฌีญู บาร์กลีย์ เมานต์ แอแมร์ซง อับราฮัม |
ลิเวอร์พูล[3]
|
เชลซี[3]
|
ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[2]
|
กฎกติกาการแข่งขัน[16]
|
สถิติ
[แก้]
|
|
|
|
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 "Liverpool beat Chelsea on penalties to win Super Cup". UEFA.com. Union of European Football Associations. 14 สิงหาคม พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2562.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
และ|date=
(help) - ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 "Stéphanie Frappart to referee UEFA Super Cup". UEFA.com. Union of European Football Associations. 2 August 2019. สืบค้นเมื่อ 2 August 2019.
- ↑ 3.0 3.1 3.2 "Tactical line-ups" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 14 สิงหาคม พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2562.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
และ|date=
(help) - ↑ "2019 UEFA Super Cup: Liverpool v Chelsea". UEFA.com. 1 มิถุนายน 2562.
- ↑ 5.0 5.1 "Madrid to host UEFA Champions League Final 2019". UEFA.com. ยูฟ่า. 20 กันยายน 2560. สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2560.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ "VAR to be introduced in 2019/20 UEFA Champions League". UEFA.com. ยูฟ่า. 27 กันยายน 2561. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-26. สืบค้นเมื่อ 27 กันยายน 2561.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ 7.0 7.1 "Beşiktaş Park, Istanbul to stage 2019 UEFA Super Cup". UEFA.com. 20 กันยายน 2560.
- ↑ "Lyon to host 2018 UEFA Europa League final". UEFA. 9 ธันวาคม 2559.
- ↑ "UEFA club competition finals 2019: bid regulations" (PDF). UEFA.
- ↑ "15 associations interested in hosting 2019 club finals". UEFA. 3 กุมภาพันธ์ 2560.
- ↑ "Ten associations bidding to host 2019 club finals". 7 มิถุนายน 2560.
- ↑ "Stadion Energa Numbers". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 June 2017. สืบค้นเมื่อ 12 March 2018.
- ↑ "Stat Arama Detay TFF". www.tff.org. สืบค้นเมื่อ 2018-03-12.
- ↑ "UEFA Executive Committee agenda for Nyon meeting". UEFA.com. 7 กันยายน 2560.
- ↑ "Referees: France". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 July 2019. สืบค้นเมื่อ 5 July 2019.
- ↑ "Regulations of the UEFA Super Cup 2019" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations.
- ↑ "Half-time report" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 14 August 2019. สืบค้นเมื่อ 14 August 2019.
- ↑ 18.0 18.1 18.2 "Team statistics" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 14 August 2019. สืบค้นเมื่อ 14 August 2019.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- เว็บไซต์ทางการ
- 2019 UEFA Super Cup: Istanbul, UEFA.com