ลำไส้เล็กส่วนกลาง
หน้าตา
ลำไส้เล็กส่วนกลาง | |
---|---|
ลำไส้เล็ก | |
Superior and inferior duodenal fossæ. | |
รายละเอียด | |
คัพภกรรม | midgut |
หลอดเลือดแดง | jejunal arteries |
หลอดเลือดดำ | jejunal veins |
ประสาท | celiac ganglia, vagus[1] |
ตัวระบุ | |
ภาษาละติน | Jejunum |
MeSH | D007583 |
TA98 | A05.6.03.001 |
TA2 | 2958 |
FMA | 7207 |
อภิธานศัพท์กายวิภาคศาสตร์ |
ลำไส้เล็กส่วนกลาง (Jejunum) เป็นส่วนที่สองของลำไส้เล็กในมนุษย์และสัตว์มีกระดูกสันหลังชั้นสูง เช่น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม, สัตว์เลื้อยคลาน และนก
ลำไส้เล็กส่วนกลางอยู่ระหว่างลำไส้เล็กส่วนต้นและลำไส้เล็กส่วนปลาย[2] ในมนุษย์โตเต็มวัย ลำไส้เล็กมีความยาวประมาณ 6-7 เมตร สองในห้าของความยาวลำไส้เล็กคือความยาวของลำไส้เล็กส่วนกลาง ซึ่งเท่ากับความยาวประมาณ 2.5 เมตร[2] โดยลำไส้เล็กส่วนกลางนี้เป็นส่วนที่มีวิลไลมากที่สุดและมีการดูดซึมมากที่สุดด้วย
อ้างอิง
[แก้]- ↑ สื่อด้านสรีรวิทยาของวิทยาลัยแพทยศาสตร์แห่งจอร์เจีย (MCG) 6/6ch2/s6ch2_30(อังกฤษ)
- ↑ 2.0 2.1 Drake, Richard L.; Vogl, Wayne; Tibbitts, Adam W.M. Mitchell; illustrations by Richard; Richardson, Paul (2005). Gray's anatomy for students. Philadelphia: Elsevier/Churchill Livingstone. pp. 273–275. ISBN 978-0-8089-2306-0.