ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศไทยใน พ.ศ. 2550"
หน้าตา
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข ป้ายระบุ: แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่ |
ป้ายระบุ: แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่ |
||
บรรทัด 46: | บรรทัด 46: | ||
{{Empty section|date=July 2014}} |
{{Empty section|date=July 2014}} |
||
== ธันวาคม == |
=== ธันวาคม === |
||
* 1 |
* 1-8 ธันวาคม – มีการจัดงาน[[พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550|พระราชพิธีมหามงคล]] เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในวโรกาสที่ทรงเจริญพระชนมมายุ 80 พรรษา ในวันที่ 5 ธันวาคม 2550 |
||
* 23 ธันวาคม |
* 23 ธันวาคม – [[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550|การเลือกตั้งปี 2550]] นายสมัคร สุนทรเวช ชนะการเลือกตั้งทำให้ได้เป็นนายกรัฐมนตรี |
||
== ดูเพิ่ม == |
== ดูเพิ่ม == |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:43, 7 มีนาคม 2563
| |||||
ดูเพิ่ม: |
---|
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2550 ในประเทศไทย
ผู้นำ
เหตุการณ์
มกราคม
- 1 มกราคม – เกิดหตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549
- 10 มกราคม – ล.อ.วินัย ภัททิยกุล เลขาธิการ คมช. พล.อ.สพรั่ง กัลยาณมิตร และ พล.อ.อนุพงษ์ เผ่าจินดา ได้เชิญผู้บริหารสื่อซึ่งมีทั้งสื่อโทรทัศน์และวิทยุ จำนวนประมาณ 50 คน จากสถานีโทรทัศน์ทุกช่อง และผู้บริหารสถานีวิทยุของรัฐรวมทั้งสถานีวิทยุชุมชน มาร่วมหารือที่กองบัญชาการกองทัพบก โดยสั่งให้สถานีโทรทัศน์ทุกช่อง วิทยุทุกสถานี ไม่แพร่ภาพกระจายเสียงข้อความหรือแถลงการณ์ของอดีตนายกรัฐมนตรี และแกนนำของพรรคไทยรักไทย
กุมภาพันธ์
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ (July 2014) |
มีนาคม
- 7 มีนาคม – สถานีโทรทัศน์ไอทีวี ยุติการออกอากาศ
- 8 มีนาคม – สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี ดำเนินการออกอากาศเป็นวันแรก โดยเปลี่ยนชื่อมาจากสถานีโทรทัศน์ไอทีวี และมีกรมประชาสัมพันธ์ เป็นผู้รับโอนกิจการมาดำเนินการต่อจากบริษัท ไอทีวี จำกัด (มหาชน)
- 25 มีนาคม – ท่าอากาศยานดอนเมือง ได้เปิดให้บริการในเชิงพาณิชย์อีกครั้ง หลังจากที่ได้ระงับการให้บริการเมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2549 ก่อนที่จะได้รับยกฐานะเป็นท่าอากาศยานนานาชาติอีกครั้ง ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2555
เมษายน
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ (July 2014) |
พฤษภาคม
- 30 พฤษภาคม - คณะตุลาการรัฐธรรมนูญได้นั่งบังลังก์อ่านคำพิพากษา เพื่อพิจารณายุบพรรคการเมืองบางพรรค อันเนื่องมาจากความผิดปกติในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2549 โดยคณะตุลาการได้มีมติตัดสินให้พรรคประชาธิปัตย์ ไม่มีความผิดแต่อย่างใดจากกรณีสืบเนื่องมาจากการเลือกตั้ง แต่ในทางกลับกัน ก็มีมติตัดสินให้ยุบพรรค พรรคประชาธิปไตยก้าวหน้า พรรคพัฒนาชาติไทย พรรคแผ่นดินไทย และพรรคไทยรักไทย พร้อมกับกำหนดให้เพิกถอนสิทธิการเลือกตั้งของกรรมการบริหารพรรคทั้ง 4 พรรค เป็นระยะเวลา 5 ปี นับตั้งแต่วันพิพากษาแล้วเสร็จ
มิถุนายน
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ (July 2014) |
กรกฎาคม
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ (July 2014) |
สิงหาคม
- 8 – 18 สิงหาคม – เป็นช่วงระยะเวลาการจัดการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน 2007 ในประเทศไทย
- 19 สิงหาคม – มีการจัดการลงประชามติเพื่อรับร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ให้แก่ประชาชนเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของไทย
- 24 สิงหาคม – ประกาศใช้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปี 2550[1]
กันยายน
- 16 กันยายน - เกิดอุบัติเหตุเครื่องบินของสายการบินวัน-ทู-โก แอร์ไลน์ เที่ยวบินที่โอจี 269 ซึ่งเดินทางมาจากท่าอากาศยานดอนเมือง แต่เมื่อถึงท่าอากาศยานภูเก็ตแล้ว เครื่องบินเกิดการไถลออกนอกรันเวย์(ทางวิ่ง) ทำให้มีผู้เสียชีวิตถึง 90 ราย บาดเจ็บ 41 ราย
ตุลาคม
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ (July 2014) |
พฤศจิกายน
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ (July 2014) |
ธันวาคม
- 1-8 ธันวาคม – มีการจัดงานพระราชพิธีมหามงคล เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในวโรกาสที่ทรงเจริญพระชนมมายุ 80 พรรษา ในวันที่ 5 ธันวาคม 2550
- 23 ธันวาคม – การเลือกตั้งปี 2550 นายสมัคร สุนทรเวช ชนะการเลือกตั้งทำให้ได้เป็นนายกรัฐมนตรี
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- ↑ Panel passes final draft of new Thai constitution, paving way for referendum, elections Associated Press, 6 July 2007
แหล่งข้อมูลอื่น