ข้ามไปเนื้อหา

รายชื่อประมุขแห่งรัฐสหภาพโซเวียต

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ประมุขแห่งรัฐสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต
จวนพระราชวังเครมลิน, กรุงมอสโก
ตำแหน่งก่อนหน้าไม่มี
สถาปนา30 ธันวาคม ค.ศ. 1922
คนแรกมีฮาอิล คาลีนิน
คนสุดท้ายมีฮาอิล กอร์บาชอฟ
ยกเลิก25 ธันวาคม ค.ศ. 1991
ตำแหน่งที่มาแทนประธานาธิบดีรัสเซีย

รัฐธรรมนูญแห่งสหภาพโซเวียตได้กำหนดว่าประธานคณะผู้บริหารสูงสุดแห่งสภาโซเวียตสูงสุดแห่งสหภาพโซเวียตเป็นตำแหน่งสูงสุดของประเทศหรือ ประมุขแห่งรัฐ ในทางนิตินัย ทว่าในทางพฤตินัยเกือบระยะเวลาของสหภาพโซเวียต อำนาจการเมืองฝ่ายบริหารที่มีผลทั้งหมดอยู่ในมือของเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์สหภาพโซเวียต โดยประธานคณะผู้บริหารสูงสุดใช้อำนาจในหน้าที่เชิงสัญลักษณ์และแต่ในนามเป็นส่วนมาก

รายนามประมุขแห่งรัฐ

[แก้]
ลำดับที่

[note 1]

ชื่อ
(เกิด–เสียชีวิต)
ภาพ ดำรงตำแหน่ง
1
ประธานคณะกรรมาธิการบริหารส่วนกลางแห่งรัฐสภาโซเวียต (ค.ศ. 1922–1938)
มีฮาอิล คาลีนิน
(ค.ศ. 1875–1946)[1]
30 ธันวาคม 1922 – 12 มกราคม 1938
ประธานคณะผู้บริหารสูงสุดแห่งสภาโซเวียตสูงสุด (ค.ศ. 1938–1989)
มีฮาอิล คาลีนิน
(ค.ศ. 1875–1946)[1]
17 มกราคม ค.ศ. 1938 – 19 มีนาคม ค.ศ. 1946
2 นีโคไล ชเวียร์นิค
(ค.ศ. 1888–1970)[2]
A picture taken by the Soviet Government of Nikolai Shvernik in grey 19 มีนาคม ค.ศ. 1946 – 6 มีนาคม ค.ศ. 1953
3 คลีเมนต์ โวโรชีลอฟ
(ค.ศ. 1881–1969)[3]
A photo taken in 1937 of Kliment Voroshilov 15 มีนาคม ค.ศ. 1953 – 7 พฤษภาคม ค.ศ. 1960
4 เลโอนิด เบรจเนฟ
(ค.ศ. 1906–1982)[4]
7 พฤษภาคม ค.ศ. 1960 – 15 กรกฎาคม ค.ศ. 1964
5 อะนัสตัส มีโคยัน
(ค.ศ. 1895–1978)[5]
15 กรกฎาคม ค.ศ. 1964 – 9 ธันวาคม ค.ศ. 1965
6 นีโคไล ปอดกอร์นืย
(ค.ศ. 1903–1983)[6]
Nikolai Podgorny as depicted during his visit to the German Democratic Republic in 1963 9 ธันวาคม ค.ศ. 1965 – 16 มิถุนายน ค.ศ. 1977
(4) เลโอนิด เบรจเนฟ
(ค.ศ. 1906–1982)[4]
16 มิถุนายน ค.ศ. 1977 – 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 1982
วาซีลี คุซเนตซอฟ
(ค.ศ. 1901–1990)[7]
10 พฤศจิกายน ค.ศ. 1982 – 16 มิถุนายน ค.ศ. 1983
7 ยูรี อันโดรปอฟ
(ค.ศ. 1914–1984)[8]
Yuri Andropov as seen in 1963 in the German Democratic Republic 16 มิถุนายน ค.ศ. 1983 – 9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1984
วาซีลี คุซเนตซอฟ
(ค.ศ. 1901–1990)[7]
9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1984 – 11 เมษายน ค.ศ. 1984
8 คอนสตันติน เชียร์เนนโค
(ค.ศ. 1911–1985)[8]
11 เมษายน ค.ศ. 1984 – 10 มีนาคม ค.ศ. 1985
วาซีลี คุซเนตซอฟ
(1901–1990)[7]
10 มีนาคม ค.ศ. 1985 – 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1985
9 อันเดรย์ โกรมืยโค
(ค.ศ. 1909–1989)[9]
Gromyko at the Conference on Security and Cooperation in Europe 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1985 – 1 ตุลาคม ค.ศ. 1988
10 มีฮาอิล กอร์บาชอฟ
(ค.ศ. 1931–2022)[10]
Mikhail Gorbachev as depicted during his state visit to the United States in 1987 1 ตุลาคม ค.ศ. 1988 – 25 พฤษภาคม ค.ศ. 1989
ประธานสภาโซเวียตสูงสุด (ค.ศ. 1989-1990) [note 2]
มีฮาอิล กอร์บาชอฟ
(ค.ศ. 1931–2022)[10]
Mikhail Gorbachev as depicted during his state visit to the United States in 1987 25 พฤษภาคม ค.ศ. 1989 – 15 มีนาคม ค.ศ. 1990
ประธานาธิบดีสหภาพโซเวียต (ค.ศ. 1990–1991)
มีฮาอิล กอร์บาชอฟ
(ค.ศ. 1931–2022)[10]
Mikhail Gorbachev as depicted during his state visit to the United States in 1987 15 มีนาคม ค.ศ. 1990 – 25 ธันวาคม ค.ศ. 1991

รองประมุขแห่งรัฐ

[แก้]
รองประมุขแห่งรัฐสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต
เกนเนดี ยานาเยฟ
จวนพระราชวังเครมลิน, มอสโก
สถาปนา7 ตุลาคม ค.ศ. 1977
คนแรกวาซีลี คุซเนตซอฟ
คนสุดท้ายเกนเนดี ยานาเยฟ
ยกเลิก21 สิงหาคม ค.ศ. 1991
ลำดับที่[note 1] ชื่อ
(เกิด–เสียชีวิต)
ภาพ ดำรงตำแหน่ง
รองประธานคณะผู้บริหารสูงสุดคนที่หนึ่งแห่งสภาโซเวียตสูงสุด (ค.ศ. 1977–1989)
1 วาซีลี คุซเนตซอฟ
(1901–1990)[7]
7 ตุลาคม ค.ศ. 1977 – 18 มิถุนายน ค.ศ. 1986
2 ปิออตร์ เดมีเชฟ
(ค.ศ. 1917–2010)[12]
18 มิถุนายน ค.ศ. 1986 – 1 ตุลาคม ค.ศ. 1988
3 อะนาโตลี ลูคยานอฟ
(ค.ศ. 1930–)[13]
1 ตุลาคม ค.ศ. 1988 – 25 พฤษภาคม ค.ศ. 1989
รองประธานสภาโซเวียตสูงสุด (ค.ศ. 1989–1990)
อะนาโตลี ลูคยานอฟ
(ค.ศ. 1930–)[13]
25 พฤษภาคม ค.ศ. 1989 – 15 มีนาคม ค.ศ. 1990
รองประธานาธิบดีสหภาพโซเวียต (ค.ศ. 1990–1991)
4 เกนนาดี ยานาเยฟ
(ค.ศ. 1937–2010)[14]
27 ธันวาคม ค.ศ. 1990 – 21 สิงหาคม ค.ศ. 1991[note 3]
ตำแหน่งถูกยกเลิก[16] 21 สิงหาคม 1991 – 26 ธันวาคม 1991[note 4]

หมายเหตุ

[แก้]
  1. 1.0 1.1 ประมุขแห่งรัฐและรองประมุขแห่งรัฐที่ดำรงตำแหน่งหลายครั้งจะแสดงเลขลำดับเพียงครั้งเดียว ผู้รักษาการประมุขแห่งรัฐจะไม่แสดงเลขลำดับ และเลขลำดับเหล่านี้ไม่ใช่เลขลำดับอย่างเป็นทางการ
  2. ในวันที่ 15 มีนาคม ค.ศ. 1990 ได้มีการถ่ายโอนอำนาจตามรัฐธรรมนูญส่วนใหญ่ไปยังสำนักประธานาธิบดีสหภาพโซเวียตที่จัดตั้งขึ้นใหม่ แม้ว่าจะสำนักงานประธานสภาโซเวียตสูงสุดจะยังใช้ชื่อเดิม แต่ตอนนี้ทำหน้าที่เป็นสำนักงานประธานรัฐสภา มิใช่ประมุขแห่งรัฐอีกต่อไป ส่วนอำนาจบริหารที่แท้จริงยังคงอยู่ในมือของกอร์บาชอฟ[11]
  3. ยานาเยฟรักษาการในตำแหน่งประธานาธิบดีสหภาพโซเวียตในช่วงความพยายามรัฐประหารในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1991 แต่ถูกจำคุกหลังความพยายามล้มเหลว และกอร์บาชอฟได้กลับคืนสู่ตำแหน่งประธานาธิบดี[15]
  4. หลังจากความพยายามรัฐประหารในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1991 ล้มเหลว สภาแห่งรัฐสหภาพโซเวียตได้รับอำนาจให้สามารถแต่งตั้งรองประธานาธิบดีได้หากตำแหน่งประธานาธิบดีว่างชั่วคราว[16]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 Shepilov, Dmitri; Austin, Anthony; Bittner, Stephen (2007). The Kremlin's Scholar: A Memoir of Soviet Politics under Stalin and Khrushchev. Yale University Press. p. 413. ISBN 978-0-300-09206-6.
  2. Shepilov, Dmitri; Austin, Anthony; Bittner, Stephen (2007). The Kremlin's Scholar: A Memoir of Soviet Politics under Stalin and Khrushchev. Yale University Press. p. 441. ISBN 978-0-300-09206-6.
  3. Shepilov, Dmitri; Austin, Anthony; Bittner, Stephen (2007). The Kremlin's Scholar: A Memoir of Soviet Politics under Stalin and Khrushchev. Yale University Press. p. 406. ISBN 978-0-300-09206-6.
  4. 4.0 4.1 Bliss Eaton, Katherine (2004). Daily Life in the Soviet Union. Greenwood Publishing Group. p. 29. ISBN 978-0-313-31628-9.
  5. Shepilov, Dmitri; Austin, Anthony; Bittner, Stephen (2007). The Kremlin's Scholar: A Memoir of Soviet Politics under Stalin and Khrushchev. Yale University Press. p. 404. ISBN 978-0-300-09206-6.
  6. Ploss, Sidney (2010). The Roots of Perestroika: the Soviet Breakdown in Historical Context. McFarland & Company. p. 218. ISBN 978-0-7864-4486-1.
  7. 7.0 7.1 7.2 7.3 Кузнецов Василий Васильевич [Vasili Vasilyevich Kuznetsov] (ภาษารัสเซีย). World History on the Internet. สืบค้นเมื่อ 7 December 2010.
  8. 8.0 8.1 Ploss, Sidney (2010). The Roots of Perestroika: the Soviet Breakdown in Historical Context. McFarland & Company. p. 216. ISBN 978-0-7864-4486-1.
  9. Ploss, Sidney (2010). The Roots of Perestroika: the Soviet Breakdown in Historical Context. McFarland & Company. p. 217. ISBN 978-0-7864-4486-1.
  10. 10.0 10.1 10.2 Bliss Eaton, Katherine (2004). Daily Life in the Soviet Union. Greenwood Publishing Group. p. 32. ISBN 978-0-313-31628-9.
  11. Anderson, John (1994). Religion, state, and politics in the Soviet Union and successor states. Cambridge University Press. p. 188. ISBN 978-0-521-46784-1.
  12. Петр Демичев : Умер министр культуры СССР Петр Демичев [The Minister of Culture of the USSR Pyotr Demichev dies] (ภาษารัสเซีย). Peoples.ru (Lenta.Ru). สืบค้นเมื่อ 8 December 2010.
  13. 13.0 13.1 Evtuhov, Catherine; Stites, Richard (2004). A History of Russia: Peoples, Legends, Events, Forces since 1800. Houghton Mifflin Harcourt. p. 474. ISBN 978-0-395-66073-7.
  14. Schwirz, Michael (24 September 2010). "Gennadi I. Yanayev, 73, Soviet Coup Plotter, Dies". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 8 December 2010.
  15. Staff writer (10 February 2011). "Soviet Coup Leader Gennady Yanayev Dies". BBC Online. สืบค้นเมื่อ 8 December 2010.
  16. 16.0 16.1 Government of the USSR: Gorbachev, Mikhail (5 September 1991). Закон "Об органах государственной власти и управления Союза ССР в переходный период" [Law: On the bodies of State Authority and Administration of the USSR in the Period of Transition] (ภาษารัสเซีย). Soyuz Sovietskikh Sotsialisticheskikh Respublik. สืบค้นเมื่อ 13 February 2011.