รายชื่อสถานีรถไฟ สายเหนือ
รายชื่อสถานีรถไฟ ที่หยุดรถ และป้ายหยุดรถ ในเส้นทางรถไฟสายเหนือ ที่หยุดรถ/ป้ายหยุดรถ หมายถึง สถานีรถไฟที่ไม่มีอาคารสถานีและนายสถานีประจำ แต่อาจมีที่พักผู้โดยสารและที่ขายตั๋วแบบไม่ใช้คอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจถูกยุบเลิกหรือตั้งใหม่ได้ ที่หยุดรถบางที่อาจไม่มีรถหยุดเลยแม้แต่รถธรรมดา สำหรับสถานีทุกแห่ง รถธรรมดาจะหยุดทุกสถานี รถเร็ว จะหยุดเป็นบางสถานี รถด่วนและด่วนพิเศษ จะหยุดห่างขึ้นตามศักดิ์ของขบวน
รายชื่อสถานีรถไฟสายเหนือในปัจจุบัน
[แก้]- หมายเหตุ
- เส้นทางช่วงสถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ – รังสิต และช่วงสถานีรถไฟชุมทางบ้านภาชี – ลพบุรี จะเป็นแบบทางคู่
- เส้นทางช่วงสถานีรถไฟรังสิต – ชุมทางบ้านภาชี จะเป็นแบบทางสาม
- เส้นทางช่วงสถานีลพบุรี – สวรรคโลกและเชียงใหม่ จะเป็นแบบทางเดี่ยว
- ตั้งแต่วันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2566 รถไฟสายเหนือขบวนรถด่วนพิเศษ ขบวนรถด่วน และขบวนรถเร็วจะเริ่มต้นและสิ้นสุดให้บริการที่สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์แทนสถานีกรุงเทพ (หัวลำโพง)
ช่วงสถานีกรุงเทพ (อภิวัฒน์) – ลพบุรี
[แก้]ช่วงสถานีชุมทางบ้านภาชี – เชียงใหม่
[แก้]ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ | รหัสสถานี | ระยะทางจาก กท. | ชั้นสถานี | ที่ตั้ง | หมายเหตุ | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เลข | ตัวย่อ | ตำบล | อำเภอ | จังหวัด | ||||
ชุมทางบ้านภาชี – เชียงใหม่ | ||||||||
ชุมทางบ้านภาชี | 1036 | ภช. | 89.95 กม. | 1 | ภาชี | ภาชี | พระนครศรีอยุธยา | มีทางแยก ทางตรงมุ่งไปสายอีสาน ที่สถานีหนองกวย (นก.) ทางแยกมุ่งหน้าไปสถานีหนองวิวัฒน์ และสุดเขตทางสามที่นี่
|
ดอนหญ้านาง | 1224 | ญา. | 93.58 กม. | ป้ายหยุดรถ | ดอนหญ้านาง | |||
หนองวิวัฒน์ | 1037 | วิ. | 96.44 กม. | 3 | หนองขนาก | ท่าเรือ | ||
บ้านปลักแรด | 1038 | แด. | 99.16 กม. | ที่หยุดรถ | ท่าเจ้าสนุก | |||
ท่าเรือ | 1039 | ทร. | 102.73 กม. | 1 | ท่าเรือ |
| ||
บ้านหมอ | 1041 | มอ. | 108.78 กม. | 1 | บ้านหมอ | บ้านหมอ | สระบุรี |
เข้าเขตจังหวัดสระบุรี |
หนองโดน | 1045 | โด. | 116.56 กม. | 2 | หนองโดน | หนองโดน |
| |
บ้านกลับ | 1047 | บก. | 122.727 กม. | 3 | บ้านกลับ |
จุดเริ่มต้นโครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ช่วงลพบุรี-ปากน้ำโพ สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านกลับ – โคกกะเทียม โดยเป็นทางวิ่งยกระดับความยาว 19 กม. วิ่งไปบนแนวเส้นทางถนนเลี่ยงเมืองลพบุรี (ทล.366) จากนั้นเส้นทางจะกลับสู่แนวเส้นทางเดิมที่สถานีโคกกะเทียม | ||
บ้านป่าหวาย | 1048 | ปว. | 127.44 กม. | 3 | ป่าตาล | เมืองลพบุรี | ลพบุรี |
เข้าเขตจังหวัดลพบุรี |
ลพบุรี | 1050 | ลบ. | 132.81 กม. | 1 | ท่าหิน | สุดเขตทางคู่ช่วงบ้านกลับ - ลพบุรี เริ่มทางเดี่ยวช่วงลพบุรี - ท่าแค และเป็นสถานีสุดท้ายในเส้นทางสายเหนือที่ใช้สัญญาณไฟสีชนิดบังคับด้วยคอมพิวเตอร์ ต่อจากนี้จะใช้ไฟสีชนิดบังคับด้วยแผงสวิตช์
| ||
ท่าแค | 1051 | ทแ. | 137.475
กม. |
3 | ท่าแค | |||
ถนนใหญ่ | ||||||||
โคกกะเทียม | 1053 | คท. | 144.250 กม. | 3 | โคกกะเทียม |
จุดสิ้นสุดโครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ช่วงลพบุรี – ปากน้ำโพ สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านกลับ – โคกกะเทียม | ||
หนองเต่า | 1055 | นต. | 150.040 กม. | 3 | หนองเต่า | บ้านหมี่ |
จุดเริ่มต้นของทางรถไฟสายหนองเต่า–เขาทับควาย (ปัจจุบันยกเลิกแล้ว) สำหรับขนส่งแร่เหล็กจากเขาทับควาย ผ่านตำบลหนองเต่า ตำบลพุคา อำเภอบ้านหมี่ และตำบลห้วยโป่ง อำเภอโคกสำโรง[3] โดยเริ่มก่อสร้างเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2491[4] | |
หนองทรายขาว | 1056 | ซข. | 154.901 กม. | 3 | หนองทรายขาว | |||
บ้านหมี่ | 1058 | บม. | 161.191 กม. | 1 | บ้านหมี่ | |||
ห้วยแก้ว | 1059 | หก. | 165.896 กม. | ที่หยุดรถ | เชียงงา | ตัวสถานีตั้งอยู่ในเขตตำบลเชียงงา[5] โดยใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายเหนือ แบ่งเขตกับตำบลสายห้วยแก้ว โดยพื้นที่บริเวณรางหลีกอยู่ในเขตตำบลสายห้วยแก้ว ยกเลิกสถานีรถไฟห้วยแก้ว กม.ที่ 165.940 และให้เปิดใช้ที่หยุดรถห้วยแก้ว กม. 165.896 แทน ในวันที่ 15 พฤษภาคม 2567 เวลา 6.00 น. เป็นต้นไป และยกเลิกการขอและให้ทางสะดวกระหว่างสถานีบ้านหมี่-ห้วยแก้ว-จันเสน | ||
ไผ่ใหญ่ | 1060 | ผญ. | 170.281 กม. | ที่หยุดรถ | ไผ่ใหญ่ |
เคยเป็นสถานี ยุบเป็นที่หยุดรถเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2519[6] | ||
โรงเรียนจันเสน | 1229 | รจ. | 172.90 กม. | ป้ายหยุดรถ | จันเสน | ตาคลี | นครสวรรค์ |
เข้าเขตจังหวัดนครสวรรค์ |
จันเสน | 1061 | จส. | 173.780 กม. | 2 |
| |||
บ้านกกกว้าว | 1062 | ว้. | 176.63 กม. | ป้ายหยุดรถ | พรหมนิมิต | |||
ช่องแค | 1063 | ชค. | 180.158 กม. | 1 | ช่องแค | |||
ทะเลหว้า | 1065 | ทห. | 187.37 กม. | ที่หยุดรถ | ตาคลี |
ในอนาคตเมื่อเส้นทางรถไฟทางคู่แล้วเสร็จ จะถูกยกเลิกใช้งาน | ||
โพนทอง | 1066 | โพ. | 188.622 กม. | 2 | ||||
บ้านตาคลี | 1067 | ตล. | 192.472 กม. | 1 |
| |||
ดงมะกุ | 1069 | ดง. | 198.777 กม. | 3 | ||||
หัวหวาย | 1070 | หว. | 204.132 กม. | 3 | หัวหวาย | |||
หนองโพ | 1072 | นพ. | 211.618 กม. | 3 | หนองโพ | |||
หัวงิ้ว | 1074 | หง. | 217.291 กม. | 3 | เนินมะกอก | พยุหะคีรี | ||
เนินมะกอก | 1076 | มก. | 224.867 กม. | 3 |
| |||
เขาทอง | 1079 | ขท. | 235.544 กม. | 3 | เขาทอง | |||
นครสวรรค์ | 1082 | นว. | 245.968 กม. | 1 | หนองปลิง | เมืองนครสวรรค์ |
| |
ปากน้ำโพ | 1083 | ปพ. | 250.617 กม. | 1 | ปากน้ำโพ |
| ||
บึงบอระเพ็ด | 1226 | เพ. | 257.15 กม. | 3 | เกรียงไกร |
เป็นสถานีที่ตั้งขึ้นใหม่ในวันที่ 9 ตุลาคม 2532[7] มีชื่อตามบึงบอระเพ็ดที่อยู่ใกล้เคียง | ||
ทับกฤช | 1084 | ทก. | 263.68 กม. | 2 | ทับกฤช | ชุมแสง |
| |
คลองปลากด | 1086 | ปก. | 270.87 กม. | 3 | ||||
ชุมแสง | 1088 | ชส. | 280.29 กม. | 1 | ชุมแสง |
| ||
วังกร่าง | 1091 | กา. | 290.24 กม. | 3 | เนินมะกอก | บางมูลนาก | พิจิตร |
|
บางมูลนาก | 1093 | นา. | 297.03 กม. | 1 | บางมูลนาก |
| ||
หอไกร | 1095 | ไก. | 303.50 กม. | 3 | หอไกร | |||
ดงตะขบ | 1097 | ดข. | 309.87 กม. | 3 | บางไผ่ | |||
ตะพานหิน | 1099 | ตห. | 319.00 กม. | 1 | ตะพานหิน | ตะพานหิน |
| |
ห้วยเกตุ | 1101 | ยต. | 324.91 กม. | 3 | งิ้วราย | |||
หัวดง | 1103 | หด. | 332.60 กม. | 2 | หัวดง | เมืองพิจิตร |
| |
วังกรด | 1105 | วร. | 339.36 กม. | 2 | บ้านบุ่ง | |||
พิจิตร | 1107 | พจ. | 346.79 กม. | 1 | ในเมือง | |||
ท่าฬ่อ | 1109 | ทฬ. | 354.26 กม. | 3 | ท่าฬ่อ |
| ||
บางกระทุ่ม | 1111 | ทม. | 362.22 กม. | 2 | บางกระทุ่ม | บางกระทุ่ม | พิษณุโลก |
เข้าเขตจังหวัดพิษณุโลก |
แม่เทียบ | 1112 | แท. | 366.21 กม. | 3 | ||||
บ้านใหม่ | 1114 | บห. | 375.31 กม. | 3 | วัดพริก | เมืองพิษณุโลก |
| |
บึงพระ | 1116 | บะ. | 381.87 กม. | 1 | บึงพระ |
เป็นต้นทางสำหรับรถบรรทุกน้ำมันจากแหล่งสิริกิติ์เพื่อส่งไปที่โรงกลั่นน้ำมันบางจาก | ||
พิษณุโลก | 1118 | พล. | 389.28 กม. | 1 | ในเมือง |
| ||
บ้านเต็งหนาม | 1119 | เห. | 393.75 กม. | 3 | หัวรอ |
เป็นสถานีแรกในเส้นทางสายเหนือที่ใช้ประแจกลสายลวด-สัญญาณหางปลา | ||
บ้านตูม | 1121 | ตม. | 400.00 กม. | 3 | ปากโทก | |||
แควน้อย | 1122 | คน. | 405.31 กม. | 3 | หอกลอง | พรหมพิราม |
| |
พรหมพิราม | 1125 | พห. | 414.50 กม. | 2 | พรหมพิราม | |||
หนองตม | 1127 | หต. | 423.20 กม. | 2 | วงฆ้อง | ตัวสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 1 บ้านหนองตม ตำบลวงฆ้อง[8] ในเขตเทศบาลตำบลวงฆ้อง
| ||
บ้านบุ่ง | 1130 | บง. | 432.75 กม. | 3 | ศรีภิรมย์ | |||
บ้านโคน | 1131 | บค. | 437.41 กม. | 3 | บ้านโคน | พิชัย | อุตรดิตถ์ |
เข้าเขตจังหวัดอุตรดิตถ์ |
พิชัย | 1134 | พย. | 447.55 กม. | 1 | ในเมือง | |||
ไร่อ้อย | 1136 | รอ. | 453.98 กม. | 3 | ไร่อ้อย |
มีทางแยกไปขนฟืนที่ ตำบลนายาง อำเภอพิชัย (ปัจจุบันเลิกใช้งาน) | ||
ชุมทางบ้านดารา | 1137 | ดร. | 458.31 กม. | 3 | บ้านดารา |
| ||
ท่าสัก | 1144 | าส. | 461.80 กม. | 2 | ท่าสัก | |||
ตรอน | 1146 | ตอ. | 469.86 กม. | 1 | วังแดง | ตรอน |
| |
วังกะพี้ | 1148 | วก. | 476.82 กม. | 3 | วังกะพี้ | เมืองอุตรดิตถ์ |
เคยมีทางแยกไปโรงงานน้ำตาลอุตรดิตถ์ (ปัจจุบันเลิกใช้งานแล้ว) | |
อุตรดิตถ์ | 1150 | อด. | 485.17 กม. | 1 | ท่าอิฐ |
| ||
ศิลาอาสน์ | 1151 | ศล. | 487.52 กม. | 1 | พื้นที่ทั้งสถานีตั้งอยู่ในเขตเทศบาลเมืองอุตรดิตถ์[9] โดยยึดตามหลักเขตเทศบาลและหลักเขตตำบล[10]
| |||
ท่าเสา | 1152 | เส. | 489.35 กม. | ที่หยุดรถ |
พื้นที่ทั้งสถานี (เดิม) ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลเมืองอุตรดิตถ์[9] โดยยึดตามหลักเขตเทศบาลและหลักเขตตำบล[10] เคยเป็นสถานีรถไฟชั้น 3 ปัจจุบันถูกยุบเป็นที่หยุดรถแล้ว | |||
บ้านด่าน | 1154 | บด. | 497.56 กม. | 3 | บ้านด่านนาขาม |
จุดเริ่มต้นสถานีรถไฟทางภูเขา | ||
ปางต้นผึ้ง | 1157 | ปต. | 509.36 กม. | 3 |
| |||
- เข้าอุโมงค์ปางตูบขอบ ยาว 120.09 เมตร กม.ที่ 513.72-513.84 | ||||||||
- เข้าอุโมงค์เขาพลึง ยาว 362.44 เมตร กม.ที่ 516.41-516.77 | ||||||||
เขาพลึง | 1159 | ขง. | 517.02 กม. | ที่หยุดรถ | ห้วยไร่ | เด่นชัย | แพร่ |
เข้าเขตจังหวัดแพร่ |
ห้วยไร่ | 1160 | หา. | 521.48 กม. | 3 | ||||
ไร่เกล็ดดาว | 1161 | รล. | 525.30 กม. | ที่หยุดรถ | ||||
แม่พวก | 1162 | มพ. | 528.22 กม. | ที่หยุดรถ |
เดิมเป็นสถานีรถไฟชั้น 3 ปัจจุบันถูกยุบเป็นที่หยุดรถแล้ว | |||
เด่นชัย | 1164 | ดช. | 533.94 กม. | 1 | เด่นชัย |
| ||
ปากปาน | 1165 | ปา. | 538.43 กม. | 3 | ไทรย้อย | |||
แก่งหลวง | 1167 | กล. | 546.94 กม. | 3 | แม่ปาน | ลอง | ||
ห้วยแม่ต้า | 1169 | วต. | 554.42 กม. | ที่หยุดรถ | บ้านปิน | |||
บ้านปิน | 1172 | บป. | 563.86 กม. | 2 |
| |||
- เข้าอุโมงค์ห้วยแม่ลาน ยาว 130.20 เมตร กม.ที่ 574.04-574.17 | ||||||||
ผาคัน | 1176 | ผน. | 578.46 กม. | 3 | บ้านปิน | ลอง | แพร่ |
|
ผาคอ | 1177 | ผค. | 581.22 กม. | ที่หยุดรถ |
เปิดเป็นสถานีในวันที่ 1 พฤษภาคม 2458 พร้อมกับการเปิดการเดินรถช่วงบ้านปิน – ผาคอ ระยะทาง 17 กิโลเมตร และยุบเป็นที่หยุดรถเมื่อวันที่ 17 เมษายน 2528[11] | |||
ปางป๋วย | 1180 | ปย. | 591.07 กม. | 3 | สบป้าด | แม่เมาะ | ลำปาง |
เข้าเขตจังหวัดลำปาง, เขตตำบลสบป้าดและตำบลนาสัก ใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายเหนือแบ่งเขต อาคารสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 2 บ้านสบเติ๋น ตำบลสบป้าด[12][13] ส่วนย่านทางหลีกอยู่ในเขตหมู่ 2 บ้านปางป๋วย ตำบลนาสัก |
แม่จาง | 1182 | มจ. | 600.33 กม. | 3 | ||||
นาสัก | ||||||||
แม่เมาะ | ||||||||
แม่เมาะ | 1184 | มม. | 609.16 กม. | 2 | สบป้าด | เขตตำบลสบป้าดและตำบลแม่เมาะ ใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายเหนือแบ่งเขต อาคารสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 4 บ้านสบเมาะ ตำบลสบป้าด[12][13] ส่วนย่านทางหลีกอยู่ในเขตหมู่ 4 บ้านแม่เมาะสถานี ตำบลแม่เมาะ[15]
| ||
ห้วยรากไม้ | 1185 | รไ. | 614.87 กม. | ที่หยุดรถ |
เขตตำบลสบป้าดและตำบลแม่เมาะ ใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายเหนือแบ่งเขต อาคารที่หยุดรถตั้งอยู่ในเขตหมู่ 5 บ้านห้วยรากไม้ ตำบลสบป้าด[12][13] | |||
ศาลาผาลาด | 1187 | ผล. | 622.20 กม. | 3 | แม่ทะ | แม่ทะ |
เขตตำบลแม่ทะ อำเภอแม่ทะและตำบลพระบาท อำเภอเมืองลำปาง ใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายเหนือแบ่งเขต อาคารสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 6 บ้านผาลาด ตำบลแม่ทะ[16] ส่วนย่านทางหลีกอยู่ในเขตหมู่ 4 บ้านผาลาด ตำบลพระบาท[17] | |
แม่ทะ | 1189 | มท. | 628.45 กม. | 3 |
เขตตำบลแม่ทะ อำเภอแม่ทะและตำบลพระบาท อำเภอเมืองลำปาง ใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายเหนือแบ่งเขต อาคารสถานีตั้งอยู่ในเขตตำบลแม่ทะ[16] ส่วนย่านทางหลีกอยู่ในเขตตำบลพระบาท[17] | |||
หนองวัวเฒ่า | 1192 | วถ. | 637.41 กม. | 3 | พระบาท | เมืองลำปาง |
เขตตำบลพระบาทและตำบลชมพู อำเภอเมืองลำปาง ใช้กึ่งกลางของคลองส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่วังแบ่งเขต อาคารสถานีและทางหลีกทั้งหมดตั้งอยู่ในเขตหมู่ 7 บ้านหนองวัวเฒ่า ตำบลพระบาท[17] | |
นครลำปาง | 1193 | ลป. | 642.293 กม. | 1 | สบตุ๋ย |
| ||
ห้างฉัตร | 1196 | หฉ. | 654.859 กม. | 3 | ห้างฉัตร | ห้างฉัตร | ||
ปางม่วง | 1198 | ปม. | 660.984 กม. | 3 | ||||
ห้วยเรียน | 1199 | ยเ. | 665.090 กม. | ที่หยุดรถ | เวียงตาล | |||
แม่ตานน้อย | 1201 | มต. | 671.808 กม. | 3 | ||||
- เข้าอุโมงค์ขุนตาน ยาว 1352.10 เมตร กม.ที่ 681.57-682.93" | ||||||||
ขุนตาน | 1204 | ขน. | 683.140 กม. | 2 | ทาปลาดุก | แม่ทา | ลำพูน | เข้าเขตจังหวัดลำพูน สถานีนี้มีที่พักของการรถไฟฯ สำหรับนักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวอุทยานแห่งชาติดอยขุนตาน เดิมชื่อสถานี "ขุนตาล" |
ทาชมภู | 1206 | าช. | 691.896 กม. | 3 |
เดิมชื่อสถานี "บ้านทาชมภู" | |||
ศาลาแม่ทา | 1208 | ลท. | 700.686 กม. | 3 | ทาสบเส้า | |||
หนองหล่ม | 1212 | งล. | 713.018 กม. | 3 | ศรีบัวบาน | เมืองลำพูน |
เดิมชื่อสถานี "บ้านหนองหล่ม" | |
ลำพูน | 1216 | ลพ. | 729.213 กม. | 1 | ในเมือง |
เป็นต้นทาง/ปลายทาง ของของขบวนรถปูนซีเมนต์ของบริษัท ทีพีไอโพลีน จำกัด (มหาชน) ที่ 605/606 เพื่อไปส่งที่สถานีรถไฟหินลับ | ||
ป่าเส้า | 1218 | ปส. | 734.645 กม. | 3 | อุโมงค์ |
เดิมชื่อสถานี "ป่าเศร้า" | ||
สารภี | 1220 | ภี. | 742.789 กม. | 3 | ยางเนิ้ง | สารภี | เชียงใหม่ |
เข้าเขตจังหวัดเชียงใหม่ เดิมชื่อสถานี "ป่ายางเลิ้ง" |
เชียงใหม่ | 1222 | ชม. | 751.424 กม. | 1 | วัดเกต | เมืองเชียงใหม่ |
สถานีสุดท้ายในเส้นทางสายเหนือ |
ช่วงสถานีรถไฟชุมทางบ้านดารา – สวรรคโลก
[แก้]ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ | รหัสสถานี | ระยะทางจาก กท. | ชั้นสถานี | ที่ตั้ง | หมายเหตุ | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เลข | ตัวย่อ | ตำบล | อำเภอ | จังหวัด | ||||
ชุมทางบ้านดารา – สวรรคโลก | ||||||||
ชุมทางบ้านดารา | 1137 | ดร. | 458.31 กม. | 3 | บ้านดารา | พิชัย | อุตรดิตถ์ | |
คลองมะพลับ | 1139 | มป. | 470.27 กม. | 3 | ศรีนคร | ศรีนคร | สุโขทัย |
เข้าเขตจังหวัดสุโขทัย |
สวรรคโลก | 1143 | สว. | 487.14 กม. | 3 | เมืองสวรรคโลก | สวรรคโลก |
สิ้นสุดทางรถไฟสายสวรรคโลกที่สถานีนี้ |
รายชื่อสถานีรถไฟสายเหนือในอดีต
[แก้]*รหัสสถานี ชั้นสถานี กับตัวย่อ อ้างอิงจากการการใช้งานในขณะนั้นก่อนถูกยกเลิกการใช้งาน
*ข้อมูลหลักมาจากหนังสือแบบอักษรย่อ กรมรถไฟหลวง ประกาศเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2460 หนังสือรายชื่อสถานีรถไฟ พ.ศ. 2469 และหนังสือเลขรหัสของการรถไฟแห่งประเทศไทย ที่ประกาศเมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2522
*ข้อมูลบางสถานีอาจตกหล่นหรือข้อมูลไม่ครบถ้วน เนื่องจากหลักฐานเอกสารอ้างอิงที่ยากต่อการสืบค้น
อ้างอิง[18][19][20][21][22][23][24]
ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ | รหัสสถานี | ระยะทางจาก กท. | ชั้นสถานี | วันที่ | ที่ตั้ง | หมายเหตุ | ||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เลข | ตัวย่อ | เปิดใช้งาน | ยกเลิกใช้งาน | ตำบล | อำเภอ | จังหวัด | ||||
โรงเรียนสามเสน | 1005 | – | 5.00 กม. | ป้ายหยุดรถ | ไม่แน่ชัด พบในบัญชี 8 กุมภาพันธ์ 2522 | สามเสนใน | พญาไท | กรุงเทพมหานคร | ||
ประดิพัทธ์ | 1006 | ปิ. | 6.37 กม. | ป้ายหยุดรถ | ไม่แน่ชัด พบในบัญชี 8 กุมภาพันธ์ 2522 | ช่วงปี พ.ศ. 2564-2565 | ||||
ชุมทางบางซื่อ 1 | 1007 | บซ.1 | 7.479. กม. | 1 | พ.ศ. 2532 | 17 กรกฎาคม 2559 | บางซื่อ | บางซื่อ |
ยุบรวมกับสถานีชุมทางบางซื่อ2 และใช้ชื่อ"สถานีชุมทางบางซื่อ" | |
ย่านพหลโยธิน | 1008 | – | ประมาณ 7 กม. | ป้ายหยุดรถ | ไม่แน่ชัด พบในบัญชี 8 กุมภาพันธ์ 2522 | จตุจักร | จตุจักร | |||
พหลโยธิน | 1231 | พโ. | 8.902 กม. | 4 | 20 ธันวาคม 2544 | 27 ธันวาคม 2556 | ||||
นิคมรถไฟลาดยาว | 1009 | – | ประมาณ 10 กม. | ป้ายหยุดรถ | ไม่แน่ชัด พบในบัญชี 8 กุมภาพันธ์ 2522 และตั๋วแข็งโดยสาร 12 กุมภาพันธ์ 2531 |
ใช้ป้ายหยุดรถนิคมกม.11 แทน | ||||
นิคมรถไฟ กม.11 | 1009 | รถ. | 11.01 กม. | ป้ายหยุดรถไฟ | ไม่ทราบแน่ชัด | 19 มกราคม 2566 |
ยกเลิก เพราะ การรถไฟฯ กำหนดให้ขบวนรถ เดินรถบนทางยกระดับในระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง ให้ใช้รถไฟฟ้าสายสีแดง "สถานีจตุจักร" เพื่อเชื่อมต่อไปรถไฟทางไกล รถธรรมดา รถชานเมือง | |||
วัดเสมียนนารี | 1010 | – | 12.20 กม. | ป้ายหยุดรถ | ไม่แน่ชัด พบในบัญชี 8 กุมภาพันธ์ 2522 | ลาดยาว | ||||
บางเขน | 1011 | บข. | 13.00 กม. | 1 | 26 มีนาคม 2439 | 19 มกราคม 2566 |
ยกเลิก เพราะ การรถไฟฯ กำหนดให้ขบวนรถ เดินรถบนทางยกระดับในระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง ให้ใช้รถไฟฟ้าสายสีแดง "สถานีบางเขน" เพื่อเชื่อมต่อไปรถไฟทางไกล รถธรรมดา รถชานเมือง | |||
วัดเทวสุนทร | 1012 | – | 13.30 กม. | ป้ายหยุดรถ | ไม่แน่ชัด พบในบัญชี 8 กุมภาพันธ์ 2522 | |||||
ทุ่งสองห้อง | 1013 | หส. | 14.81 กม. | ที่หยุดรถ | ไม่แน่ชัด พบในบัญชี 8 กุมภาพันธ์ 2522 | 19 มกราคม 2566 | ตลาดบางเขน | หลักสี่ |
ยกเลิก เพราะ การรถไฟฯ กำหนดให้ขบวนรถ เดินรถบนทางยกระดับในระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง ให้ใช้รถไฟฟ้าสายสีแดง "สถานีทุ่งสองห้อง" เพื่อเชื่อมต่อไปรถไฟทางไกล รถธรรมดา รถชานเมือง | |
ศูนย์ฝึกเทศบาล | 1014 | – | 16.00 กม. | ป้ายหยุดรถ | ไม่แน่ชัด พบในบัญชี 8 กุมภาพันธ์ 2522 | |||||
หลักสี่ | 1015 | ลส. | 17.57 กม. | 1 | 26 มีนาคม 2439 | 19 มกราคม 2566 |
ยกเลิก เพราะ การรถไฟฯ กำหนดให้ขบวนรถ เดินรถบนทางยกระดับในระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง ให้ใช้รถไฟฟ้าสายสีแดง "สถานีหลักสี่" เพื่อเชื่อมต่อไปรถไฟทางไกล รถธรรมดา รถชานเมือง | |||
การเคหะ กม.19 | 1225 | คห. | 19.47 กม. | ป้ายหยุดรถ | ไม่ทราบแน่ชัด | 19 มกราคม 2566 | ดอนเมือง/สนามบิน | ดอนเมือง |
ยกเลิก เพราะ การรถไฟฯ กำหนดให้ขบวนรถ เดินรถบนทางยกระดับในระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง ให้ใช้รถไฟฟ้าสายสีแดง "สถานีการเคหะ" เพื่อเชื่อมต่อไปรถไฟทางไกล รถธรรมดา รถชานเมือง | |
ตลาดใหม่ดอนเมือง | 1016 | ตใ. | 21.69 กม. | ป้ายหยุดรถ | ไม่แน่ชัด พบในบัญชี 8 กุมภาพันธ์ 2522 | 19 มกราคม 2566 |
ยกเลิก เพราะ การรถไฟฯ กำหนดให้ขบวนรถ เดินรถบนทางยกระดับในระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง ให้ใช้รถไฟฟ้าสายสีแดง "สถานีดอนเมือง" เพื่อเชื่อมต่อไปรถไฟทางไกล รถธรรมดา รถชานเมือง | |||
โรงเรียนดอนเมือง | 1018 | – | 23.00 กม. | ป้ายหยุดรถ | ไม่แน่ชัด พบในบัญชี 8 กุมภาพันธ์ 2522 | |||||
แกรนด์ คาแนล | 1018 | คแ. | 24.78 กม. | ป้ายหยุดรถ | 5 เมษายน 2556 | 15 กันยายน 2563 |
ยกเลิกใช้งานเพราะอยู่ในแนวก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดงเข้ม | |||
หลักหก | 1019 | หั. | 27.61 กม. | ป้ายหยุดรถ | 26 มีนาคม 2439 | 15 กันยายน 2563 | หลักหก | เมืองปทุมธานี | ปทุมธานี | |
คลองรังสิต | 1020 | คส. | 28.48 กม. | ที่หยุดรถ | 26 มีนาคม 2439 | 15 กันยายน 2563 | ||||
ท่าลาน | 1042 | – | ไม่ทราบแน่ชัด | – | ประมาณปี พ.ศ. 2491-2516 | ช่วงปี พ.ศ. 2537-2538 | บางโขมด | บ้านหมอ | สระบุรี | |
ท่าหลวง | 1043 | – | ไม่ทราบแน่ชัด | – | ประมาณปี พ.ศ. 2491-2516 | ช่วงปี พ.ศ. 2537-2538 | ท่าครัว | |||
บ้านหนองหมู | 1075 | มู. | 221.77 กม. | ที่หยุดรถ | ไม่ทราบแน่ชัด | พ.ศ. 2547 | เนินมะกอก | พยุหะคีรี | นครสวรรค์ | |
ทุ่งน้ำซึม | 1078 | ทซ. | 231.35 กม. | ที่หยุดรถ | สัณนิฐานว่าเป็นวันที่ 10 ธันวาคม 2502 | ไม่ทราบแน่ชัด | เขาทอง | |||
อ่างหิน | – | อห. | 239.97 กม. | ที่หยุดรถ | ไม่ทราบแน่ชัด | 25 ตุลาคม 2487 | หนองปลิง | เมืองนครสวรรค์ | ||
คลองละมุง | 1138 | ลม. | 466.32 กม. | ที่หยุดรถ | 15 สิงหาคม 2453 | ราวปี พ.ศ. 2546 | ไร่อ้อย | พิชัย | อุตรดิตถ์ | |
วัดคลองปู | 1040 | วู. | 474.96 กม. | ที่หยุดรถ | ไม่แน่ชัด พบในบัญชี 1 ตุลาคม 2522 | ราวปี พ.ศ. 2546 | คลองยาง | สวรรคโลก | สุโขทัย | |
คลองยาง | 1041 | คย. | 479.03 กม. | ที่หยุดรถ | 15 สิงหาคม 2453 | ราวปี พ.ศ. 2546 | ||||
หนองเรียง | 1042 | นย. | 483.08 กม. | ที่หยุดรถ | ไม่แน่ชัด พบในบัญชี 1 ตุลาคม 2522 | ราวปี พ.ศ. 2546 | ในเมือง | |||
น้ำริด | 1053 | นร. | 494.35 กม. | ที่หยุดรถ | ไม่แน่ชัด พบในบัญชี 1 ตุลาคม 2522 | ช่วงปี พ.ศ. 2540-2549 | น้ำริด | เมืองอุตรดิตถ์ | อุตรดิตถ์ | |
ห้วยแม่ลาน | 1175 | แล | 574.20 กม. | ที่หยุดรถ | ราวปี พ.ศ. 2484 | 10 กรกฎาคม 2524 | บ้านปิน | ลอง | แพร่ | |
บ่อแฮ้ว | 1194 | บฮ. | 647.12 กม. | ที่หยุดรถ | ไม่แน่ชัด พบในบัญชี 1 ตุลาคม 2460 | ช่วงปี พ.ศ. 2535-2545 | บ่อแฮ้ว | เมืองลำปาง | ลำปาง | |
ปางหัวพง | – | – | ประมาณ 675 กม. | ที่หยุดรถ | 20 ธันวาคม 2459 | ก่อนปี พ.ศ. 2469 | เวียงตาล | ห้างฉัตร | ||
ปางยาง | – | – | ประมาณ 679 กม. | ที่หยุดรถ | 1 กรกฎาคม 2461 | ก่อนปี พ.ศ. 2469 | ||||
ห้วยเกี๋ยง | – | – | ประมาณ 707 กม. | ที่หยุดรถ | 1 เมษายน 2498 | พ.ศ. 2509 | ท่าสบเส้า | แม่ทา | ลำพูน | |
ดอยติ | 1215 | ดต. | 723.59 กม. | ที่หยุดรถ | ไม่แน่ชัด พบในบัญชี พ.ศ. 2469 | พ.ศ. 2523 | ป่าสัก | เมืองลำพูน |
รายชื่อสถานีรถไฟสายเหนือเพิ่มเติมในอนาคต
[แก้]ช่วงสถานีรถไฟบ้านกลับ – โคกกระเทียม (โครงการรถไฟทางคู่เลี่ยงเมืองลพบุรี)
[แก้]อ้างอิง[25]
ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ | รหัสสถานี | ระยะทางจาก กท. | ชั้นสถานี | ที่ตั้ง | หมายเหตุ | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เลข | ตัวย่อ | ตำบล | อำเภอ | จังหวัด | ||||
บ้านกลับ – โคกกระเทียม | ||||||||
มาจากสถานีรถไฟกรุงเทพ ในเส้นทางสถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ – เชียงใหม่ | ||||||||
บ้านกลับ | 1047 | บก. | 122.727 กม. | 3 | บ้านกลับ | หนองโดน | สระบุรี | |
ลพบุรี 1 | 130.212 กม. | 1 | โพธิ์เก้าต้น | เมืองลพบุรี | ลพบุรี |
สร้างในภายหลัง | ||
ลพบุรี 2 | 141.757 กม. | 1 | โพตลาดแก้ว | ท่าวุ้ง |
เป็นสถานีรถไฟยกระดับ | |||
โคกกะเทียม | 1053 | คท. | 144.250 กม. | 3 | โคกกระเทียม | เมืองลพบุรี |
ช่วงสถานีรถไฟปากน้ำโพ – แม่สอด
[แก้]ทางรถไฟสายนครสวรรค์-แม่สอด เป็นโครงการรถไฟทางคู่สายใหม่ของการรถไฟแห่งประเทศไทย และเป็นส่วนต่อขยายของทางรถไฟสายเหนือ โดยจะแยกจากช่วงชุมทางบ้านภาชี–เชียงใหม่ ที่สถานีรถไฟชุมทางปากน้ำโพ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ และไปสิ้นสุดปลายทางที่สถานีรถไฟด่านแม่สอด อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก[26][27]
ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ | รหัสสถานี | ระยะทางจาก กท. | ชั้นสถานี | ที่ตั้ง | หมายเหตุ | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เลข | ตัวย่อ | ตำบล | อำเภอ | จังหวัด | ||||
ปากน้ำโพ – ด่านแม่สอด | ||||||||
มาจากสถานีรถไฟกรุงเทพ ในเส้นทางสถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ – เชียงใหม่ | ||||||||
ปากน้ำโพ | 1083 | ปพ. | 250.617 กม. | 1 | ปากน้ำโพ | เมืองนครสวรรค์ | นครสวรรค์ |
เป็นสถานีต้นทางของส่วนต่อขยาย |
บึงเสนาท | 254.032 กม. | 2 | บึงเสนาท |
| ||||
บ้านมะเกลือ | 260.982 กม. | 2 | บ้านมะเกลือ | |||||
มหาโพธิ์ | 266.382 กม. | 3 | มหาโพธิ | เก้าเลี้ยว | ||||
เก้าเลี้ยว | 273.807 กม. | 2 | เก้าเลี้ยว |
เป็นสถานีย่อย ประจำอำเภอ | ||||
บางตาหงาย | 280.782 กม. | ป้ายหยุดรถ | หัวดง | |||||
เจริญผล | 288.682 กม. | 2 | เจริญผล | บรรพตพิสัย |
จุดจอดขนถ่ายตู้สินค้า เป็นสถานีขนาดกลาง | |||
ตาขีด | 299.882 กม. | ป้ายหยุดรถ | ตาขีด | |||||
ป่าพุทรา | 306.382 กม. | 3 | ป่าพุทรา | ขาณุวรลักษบุรี | กำแพงเพชร |
เข้าเขตจังหวัดกำแพงเพชร | ||
ยางสูง | 314.961 กม. | ป้ายหยุดรถ | ยางสูง | |||||
วังแขม | 320.032 กม. | 3 | วังแขม | คลองขลุง | ||||
วังยาง | 324.832 กม. | ป้ายหยุดรถ | วังยาง | |||||
ท่ามะเขือ | 329.232 กม. | 3 | ท่ามะเขือ | |||||
วังบัว | 338.357 กม. | ป้ายหยุดรถ | วังบัว | |||||
คณฑี | 345.532 กม. | 2 | คณฑี | เมืองกำแพงเพชร | ||||
เทพนคร | 354.982 กม. | ป้ายหยุดรถ | เทพนคร | |||||
กำแพงเพชร | 363.867 กม. | 1 | สระแก้ว |
เป็นสถานีขนาดใหญ่ ประจำจังหวัด | ||||
หนองปลิง | 371.249 กม. | 3 | หนองปลิง |
จุดจอดขนถ่ายตู้สินค้า เป็นสถานีขนาดเล็ก | ||||
ลานดอกไม้ | 385.267 กม. | 3 | ลานดอกไม้ | |||||
โกสัมพี | 397.967 กม. | ป้ายหยุดรถ | โกสัมพี | โกสัมพีนคร | ||||
วังเจ้า | 407.667 กม. | 3 | วังหิน | เมืองตาก | ตาก |
เข้าเขตจังหวัดตาก | ||
วังหิน | 418.962 กม. | ป้ายหยุดรถ | ||||||
หนองบัวใต้ | 425.767 กม. | 2 | หนองบัวใต้ |
จุดจอดขนถ่ายตู้สินค้า เป็นสถานีขนาดกลาง | ||||
ตาก | 432.030 กม. | 1 | แม่ท้อ |
เป็นสถานีขนาดใหญ่ ประจำจังหวัด | ||||
- เข้าอุโมงค์ดอยรวก ยาว 15500 เมตร กม.ที่ 447.517 – 463.017 | ||||||||
ด่านแม่ละเมา | 465.192 กม. | 3 | ด่านแม่ละเมา | แม่สอด | ตาก | |||
- เข้าอุโมงค์แม่ละเมา แห่งที่ 1 ยาว 1420.00 เมตร กม.ที่ 469.967 – 471.372 | ||||||||
- เข้าอุโมงค์แม่ละเมา แห่งที่ 2 ยาว 765.00 เมตร กม.ที่ 471.837 – 472.602 | ||||||||
- เข้าอุโมงค์ดอยพะวอ ยาว 12000.00 เมตร กม.ที่ 474.195 – 486.362 | ||||||||
แม่ปะ | 486.572 | 3 | แม่ปะ | แม่สอด | ตาก | |||
แม่สอด | 495.922 กม. | 1 |
เป็นสถานีขนาดใหญ่ ประจำอำเภอ | |||||
ด่านแม่สอด | 501.117 กม. | 2 | ท่าสายลวด |
|
ช่วงสถานีรถไฟเด่นชัย – เชียงราย – เชียงของ
[แก้]ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ | รหัสสถานี | ระยะทางจาก กท. | ชั้นสถานี | ที่ตั้ง | หมายเหตุ | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เลข | ตัวย่อ | ตำบล | อำเภอ | จังหวัด | ||||
เด่นชัย – เชียงราย | ||||||||
มาจากสถานีรถไฟกรุงเทพ ในเส้นทางสถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ – เชียงใหม่ | ||||||||
เด่นชัย | 1164 | ดช. | 533.94 กม. | 1 | เด่นชัย | เด่นชัย | แพร่ |
เป็นสถานีต้นทางของส่วนต่อขยาย |
สูงเม่น | 547.80 กม. | 2 | พระหลวง | สูงเม่น |
เป็นสถานีย่อย ประจำอำเภอ | |||
แพร่ | 560.50 กม. | 1 | ทุ่งกวาว | เมืองแพร่ |
เป็นสถานีขนาดใหญ่ ประจำจังหวัด | |||
แม่คำมี | 572.00 กม. | 3 | แม่คำมี | |||||
หนองเสี้ยว | 584.10 กม. | ป้ายหยุดรถ | หัวเมือง | สอง | ||||
สอง | 591.00 กม. | 2 | บ้านหนุน |
เป็นสถานีย่อย ประจำอำเภอ | ||||
- เข้าอุโมงค์สอง ยาว 1125.00 เมตร กม.ที่ 606.200 – 607.325 | ||||||||
- เข้าอุโมงค์งาว ยาว 6375.00 เมตร กม.ที่ 609.050 – 615.425 | ||||||||
แม่ตีบ | 618.00 กม. | ป้ายหยุดรถ | แม่ตีบ | งาว | ลำปาง |
เข้าเขตจังหวัดลำปาง | ||
งาว | 637.00 กม. | 2 | หลวงเหนือ |
เป็นสถานีย่อยประจำอำเภอ | ||||
ปงเตา | 642.25 กม. | ป้ายหยุดรถ | ปงเตา | |||||
- เข้าอุโมงค์แม่กา ยาว 2825.00 เมตร กม.ที่ 663.400 – 666.225 | ||||||||
มหาวิทยาลัยพะเยา | 670.60 กม. | 2 | แม่กา | เมืองพะเยา | พะเยา |
เข้าเขตจังหวัดพะเยา | ||
บ้านโทกหวาก | 677.55 กม. | ป้ายหยุดรถ | ||||||
พะเยา | 683.40 กม. | 1 | จำป่าหวาย |
เป็นสถานีขนาดใหญ่ ประจำจังหวัด | ||||
ดงเจน | 689.75 กม. | ป้ายหยุดรถ | ท่าวังทอง | |||||
บ้านร้อง | 696.55 กม. | ป้ายหยุดรถ | ดงเจน | ภูกามยาว | ||||
บ้านใหม่ (พะเยา) | 709.90 กม. | ป้ายหยุดรถ | ห้วยแก้ว | |||||
ป่าแดด | 724.55 กม. | 2 | โรงช้าง | ป่าแดด | เชียงราย |
| ||
ป่าแงะ | 732.20 กม. | ป้ายหยุดรถ | ป่าแงะ | |||||
บ้านโป่งเกลือ | 743.20 กม. | ป้ายหยุดรถ | ดอยลาน | เมืองเชียงราย | ||||
สันป่าเหียง | 756.10 กม. | ป้ายหยุดรถ | ห้วยสัก | |||||
เชียงราย | 771.80 กม. | 1 | เวียงชัย | เวียงชัย |
| |||
ทุ่งก่อ | 785.50 กม. | ป้ายหยุดรถ | ทุ่งก่อ | เวียงเชียงรุ้ง | ||||
เวียงเชียงรุ้ง | 796.45 กม. | 2 | ทุ่งก่อ |
เป็นสถานีย่อย ประจำอำเภอ | ||||
ชุมทางบ้านป่าซาง | 807.43 กม. | 3 | ป่าซาง |
ส่วนต่อขยาย ช่วงชุมทางบ้านป่าซาง-เชียงแสน | ||||
- เข้าอุโมงค์ดอยหลวง ยาว 3600.00 เมตร กม.ที่ 816.600 – 820.200 | ||||||||
บ้านเกี๋ยง | 829.25 กม. | ป้ายหยุดรถ | ห้วยซ้อ | เชียงของ | เชียงราย | |||
ศรีดอนชัย | 839.19 กม. | ป้ายหยุดรถ | ศรีดอนชัย | |||||
เชียงของ | 853.79 กม. | 2 | สถาน |
|
ช่วงสถานีชุมทางบ้านป่าซาง – เชียงแสน
[แก้]ช่วงสถานีชุมทางบ้านป่าซาง–เชียงแสน มีระยะทาง 25.487 กิโลเมตร [30][31]
ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ | รหัสสถานี | ระยะทางจาก กท. | ชั้นสถานี | ที่ตั้ง | หมายเหตุ | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เลข | ตัวย่อ | ตำบล | อำเภอ | จังหวัด | ||||
ชุมทางบ้านป่าซาง-เชียงแสน | ||||||||
มาจากสถานีรถไฟกรุงเทพ ในเส้นทางเด่นชัย – เชียงของ | ||||||||
ชุมทางบ้านป่าซาง | 807.43 กม. | 3 | ป่าซาง | เวียงเชียงรุ้ง | เชียงราย |
เชื่อมต่อกับทางรถไฟสายเด่นชัย-เชียงของ (เส้นทางหลัก) | ||
โชคชัย | 814.25 กม. | 3 | โชคชัย | ดอยหลวง | ||||
เชียงแสน | 830.00 กม. | 2 | เวียง | เชียงแสน |
|
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลท่าแค อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลถนนใหญ่ อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องรังวัดแบ่งแยกเวนคืนที่ดินเพื่อสร้างทางรถไฟสายหนองเต่า เขาทับควาย จังหวัดลพบุรี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 65 (27 ง): 1658. วันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2491
- ↑ "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องรังวัดแบ่งแยกเวนคืนที่ดินเพื่อสร้างทางรถไฟสายหนองเต่า เขาทับควาย จังหวัดลพบุรี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 65 (27 ง): 1658. วันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2491
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลเชียงงา อำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "ตั้งแต่วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2519 เนื่องจากหมดความจำเป็นในด้านการเดินรถและการพาณิชย์ ฉะนั้น ให้ยุบสถานีต่าง ๆ เป็นที่หยุดรถ (ประกาศ ณ วันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519)". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519
- ↑ "ตั้งแต่วันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2532 เนื่องจากมีความจำเป็นในด้านการเดินรถและการพาณิชย์ ฉะนั้น ให้ตั้งสถานีขึ้นในเส้นทางรถไฟสายเหนือ (ณ สมุดเลขรหัส แทนชื่อสถานีและที่หยุดรถ เริ่มใช้วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2522)". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2532
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลวงฆ้อง อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ 9.0 9.1 "พระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนแปลงเขตเทศบาลเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ พ.ศ. ๒๕๑๖" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 90 (180 ก): (ฉบับพิเศษ) 115-120. วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2516
- ↑ 10.0 10.1 "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลท่าอิฐ อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "ตั้งแต่วันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2528 เนื่องจากหมดความจำเป็นในด้านการเดินรถและการพาณิชย์ ฉะนั้น ให้ยุบสถานีต่าง ๆ เป็นที่หยุดรถ". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2528
- ↑ 12.0 12.1 12.2 12.3 "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลสบป้าด อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ 13.0 13.1 13.2 13.3 "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 115 (ตอนพิเศษ 91 ง): 44–64. วันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2541
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลนาสัก อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ 15.0 15.1 "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ 16.0 16.1 "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลแม่ทะ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ 17.0 17.1 17.2 "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลพระบาท อำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ รหัสสถานีรถไฟ Website. 2010-03-04 สืบค้นเมื่อ 2021-12-30
- ↑ ลาชานชลา สถานีชุมทางบางซื่อ Webblog. 2019-07-20 สืบค้นเมื่อ 2021-12-30
- ↑ ทางแยกเส้นทางหนึ่งที่ กม.109 ท่าหลวง Website. 2006-07-21 สืบค้นเมื่อ 2021-12-31
- ↑ 25 ตุลาคม 2487 กรมรถไฟมีคำสั่งยุบที่หยุดรถต่อไปนี้ Website. 2007-02-27 สืบค้นเมื่อ 2021-12-30
- ↑ แบบอักษรย่อกรมรถไฟหลวงปี พ.ศ. 2460 Facebook. 2021-05-21 สืบค้นเมื่อ 2021-12-30
- ↑ รายชื่อสถานีรถไฟปี พ.ศ. 2469 Facebook. 2021-05-21 สืบค้นเมื่อ 2021-12-31
- ↑ นับถอยหลัง 19 ม.ค. รถไฟวิ่งบนทางยกระดับ เลิกที่หยุดรถหลายป้าย เปลี่ยนใหม่ไปใช้สถานีสายสีแดงแทน Website. 2023-01-16 สืบค้นเมื่อ 2023-09-18
- ↑ เลี่ยงพระปรางค์ 3 ยอด ลพบุรี “รถไฟทางคู่ลอยฟ้า” 19 กม. ยาวที่สุดในไทย Website. 2021-12-04 สืบค้นเมื่อ 2021-12-30
- ↑ โครงการก่อสร้างทางรถไฟสายแม่สอด ตาก กำแพงเพชร นครสวรรค์ Facebook. 2021-07-28 สืบค้นเมื่อ 2021-12-30
- ↑ งานสำรวจ ออกแบบรายละเอียด และจัดทำรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อม เพื่อเตรียมการก่อสร้างทางรถไฟ สายแม่สอด-ตาก-กำแพงเพชร-นครสวรรค์ Website. ไม่สร้าบปี สืบค้นเมื่อ 2021-12-30
- ↑ ทางรถไฟสายเด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ วิกิพีเดีย. 2021-11-17 สืบค้นเมื่อ 2021-12-30
- ↑ แผนที่แนวเส้นทางรถไฟสายเด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ Google Maps. 2017-07-24 สืบค้นเมื่อ 2019-06-23
- ↑ ทางรถไฟสายเด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ วิกิพีเดีย. 2021-11-17 สืบค้นเมื่อ 2021-12-30
- ↑ แผนที่แนวเส้นทางรถไฟสายเด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ Google Maps. 2017-07-24 สืบค้นเมื่อ 2019-06-23