1088-Article Text-6429-2-10-20221221

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 18

Research Articles

Received: 2022-06-10 Revised: 2022-12-09 Accepted: 2022-12-12


16 วารสารปรััชญาอาศรม ปีีที่่� 4 ฉบัับที่่� 2 | กรกฎาคม - ธัันวาคม 2565

ศึกษาเปรียบเทียบเรื่องสิทธิสัตว์ในพุทธปรัชญา
กับมุมมองของปีเตอร์ ซิงเกอร์
A Comparative Study on Animal
Right in Buddhist Philosophy and PeterSinger’s Perspective

พระครูกิตติภัทรานุยุต (จักรินทร์ มาชวน)


Phrakrukittiphattaranuyut (Chakkarin Machun)
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่
Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Chiang Mai Campus
Corresponding Author, E-mail : [email protected]

บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดสิทธิสัตว์
ในพุทธปรัชญา 2) เพื่อศึกษาแนวคิดสิทธิสัตว์ในมุมมองของปีเตอร์ ซิงเกอร์ และ 3) เพื่อ
ศึกษาเปรียบเทียบแนวคิดสิทธิสัตว์ในพุทธปรัชญาในมุมมองของปีเตอร์ ซิงเกอร์ พบว่า
ปรัชญาสิทธิเสรีภาพ คือ มนุษย์คือสัตว์ประเภทหนึ่ง และมีวิวัฒนาการเพื่อการอยู่หรือ
ดำ�รงชีพให้อยู่รอด และมนุษย์ในทัศนะทางศาสนาจะมีความเชื่อที่ว่า มนุษย์เกิดมาโดย
มีความประเสริฐ หรือเป็นสิ่งที่สัตว์ประเภทอื่นไม่สามารถมีหรือเรียนรู้ได้ คือสติปัญญา
และในที่นี้ สติปัญญาก็คือสิ่งที่เร้าที่ทำ�ให้มนุษย์สามารถปกป้องตนเองให้มีสิทธิเสรีภาพ
ได้ในสังคม และ วิเคราะห์สิทธิเสรีภาพของสัตว์ คือ ความมีสิทธิเสรีภาพของมนุษย์ จึง
ต้องย้อนกลับไปมองว่า สิ่งที่มนุษย์มองไม่เห็นตั้งแต่ในยุคเริ่มแรกของการบ่มเพาะความรู้
คืออะไร และสิ่งใดที่แยกระหว่างมนุษย์กับสัตว์ ในขณะที่การเกิด การดำ�รงอยู่ และการ
ตายเป็นธรรมชาติที่เรียกว่าสามัญลักษณะที่ไม่สรรพสิ่งใดหนีพ้นไปได้ และสิ่งที่อยู่เหนือ
กว่ามนุษย์ทั้งหลายในทางอภิปรัชญา จริยศาสตร์ หรือคุณวิทยา ควรจะเรียกว่าเป็นสิทธิ
เสรีภาพที่เท่าเทียมของสรรพสิ่งหรือไม่
คำ�สำ�คัญ : สิทธิเสรีภาพ, สัตว์

มหาวิิทยาลััยมหาจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััย วิิทยาเขตเชีียงใหม่่
ผ่่านการรัับรองคุุณภาพจาก TCI (กลุ่่�มที่่� 2)
Journal of Prajna Ashram Vol.4 No. 2 | July - December 2022 17

Abstract
This research article contains three objectives (1) to study the
rights and freedom philosophy and (2) to analyze the rights and freedoms
of animals. It was found that the philosophy of rights and liberties is that
human beings are a type of animal. and has evolved to survive or survive
and human beings in a religious view will have the belief that Human
beings are born with dignity. Or what other animals cannot have or learn
is intelligence. And here intelligence is the stimulus that enables humans
to defend themselves to have their rights and freedoms in society. of
the human therefore had to go back and look at What is it that humans
have not seen since the earliest days of cultivating knowledge? and what
distinguishes humans and animals Whereas birth, existence, and death
are so-called ordinary natures that nothing else can escape. And should
anything that transcend all human beings in metaphysics, ethics or morals
should be called equal freedoms of all things?
Keywords: Freedom, Animals

บทนำ�
สิทธิเสรีภาพคืออะไร
อำ�นาจอธิปไตยหรือสิทธิเสรีภาพต้องเป็นอันหนึ่งอันเดียวและสมบูรณ์ ด้วย
เหตุที่ว่า มนุษย์สามารถเลือก และเป็นอิสระ เผ่าพันธุ์มนุษย์แบ่งออกเป็นปศุสัตว์หลาย
ๆ ฝูง กระนั้น เพราะโดยรูปแบบการปกครองเป็นการเปลี่ยนอำ�นาจเป็นสิทธิ เปลี่ยน
ความเชื่อฟังเป็นหน้าที่จึงนำ�ไปสู่การวางสัญญาประชาคม บนการรวมตัวกันของคนหมู่
มาก ซึ่งต้องการปกป้องพิทักษ์คน และทรัพย์สินของสมาชิก ดังนั้น มนุษย์จึงมีเสรีภาพ
ทางธรรมชาติ และการรวมกลุ่มกันทางสังคมก็เพื่อป้องกันสภาวะสงคราม มนุษย์ทุกคน
จึงยินดีมอบสิทธิทั้งหมดให้แก่ชุมชนเพื่อแก้ไขปัญหานั้นภายใต้ข้อกำ�กับของเจตจำ�นงร่วม
(ฌอง ฌาคส์ รุสโซ, 2563 : 75-95)
สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย ในมาตรา 25 เป็นบัญญัตคิ มุ้ ครองไว้

Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Chiang Mai Campus


Approve by TCI (Group 2)
18 วารสารปรััชญาอาศรม ปีีที่่� 4 ฉบัับที่่� 2 | กรกฎาคม - ธัันวาคม 2565

เป็นการเฉพาะ บุคคลย่อมมีสทิ ธิและเสรีภาพทีจ่ ะทำ�การนัน้ ได้และได้รบั ความคุม้ ครอง


ตามรัฐธรรมนูญ ตราบเท่าทีไ่ ม่กระทบกระเทือน ความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี
ของประชาชน หรือเป็นอันตรายต่อความมัน่ คงของรัฐ และไม่ละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพ
ของบุคคลอืน่ บุคคลหรือชุมชนย่อมสามารถใช้สทิ ธิหรือเสรีภาพได้ตามเจตนารมณ์ของ
รัฐธรรมนูญ บุคคลซึง่ ถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพ ได้รบั ความเสียหายจากการถูกละเมิด
สิทธิหรือเสรีภาพ จากการกระทำ�ความผิดอาญาของบุคคลอืน่ ย่อมมีสทิ ธิทจ่ี ะได้รบั การ
เยียวยาหรือช่วยเหลือจากรัฐตามทีก่ ฎหมายบัญญัติ เป็นต้น (สถาบันนิตธิ รรมาลัย, 2565 :
ออนไลน์)
ดังนั้น สิทธิเสรีภาพ จึงเป็นข้อตกลงที่มนุษย์ในสังคมมีความเห็นที่สอดคล้อง
ต้องกัน และไม่เป็นการเบียดเบียนทำ�ร้ายกันทั้งทางตรงและทางอ้อม ดังจะเห็นกันมา
ตั้งแต่ในอดีตตั้งแต่ยุคกรีก ในเรื่องของสิทธิเสรีภาพและความยุติธรรม ซึ่งรวมหมายถึง
การก้าวก่ายต่อสิทธิเสรีภาพผู้อื่น การใส่ร้ายป้ายสี การดูหมิ่นดูแคลนผู้อื่น ดังนั้น ความ
ยุติธรรมอันเป็นเรื่องของจริยศาสตร์การกระทำ�จึงถูกหยิบยกมาใช้เป็นพื้นฐานในการดำ�รง
ชีวิตของมนุษย์และสังคม ยกตัวอย่างการสืบทอดเจตตาเรื่องสิทธิเสรีภาพของนักปรัชญา
สายอัตถิภาวะนิยม โดยมักจะมีการถกเถียงหรือถูกกล่าวหาว่าหลักปรัชญาของกลุ่มนี้
เป็นพวกหัวรุนแรง แข็งข้อต่อสังคม แต่หากมองถึงทัศนะความรู้ความเข้าใจของปัญญา
มนุษย์แล้ว มนุษย์ย่อมมีสิทธิเสรีภาพตั้งแต่กำ�เนิด แต่มนุษย์ก็ถูกตัดทอนสิ่งเหล่านั้นลงไป
เรื่อย ๆ อย่างเช่น การถูกตั้งชื่อ การถูกแยกเพศ การถูกแยกกลุ่มชนชั้น และสิ่งเหล่านี้ได้
ส่งผลต่อความเป็นมนุษย์โดยเสรีภาพตามธรรมชาติ เมื่อเติบโตขึ้นในสังคม
สิทธิเสรีภาพของพุทธปรัชญาคืออะไร
พระพุทธเจ้าทรงนิยมธรรมาธิปไตย มิใช่เอาตนเป็นใหญ่ หรือโลกาธิปไตย
ที่เอาพวกพ้องเป็นใหญ่ ดังพระองค์แสดงไว้อย่างชัดเจน ว่า “ที่ใดไม่มีสัตบุรุษที่นั้นมิใช่
สภา” และพระพุทธเจ้าวางหลักการปกครองของพระสงฆ์โดยมีประโยชน์เป็นเป้าหมาย
คือ (1) เพื่อหมู่คณะยอมรับว่าดี (2) เพื่อให้หมู่คณะมีความผาสุก (3) เพื่อข่มคนชั่ว (4)
เพื่อปกป้องคนดี (5) เพื่อขจัดทุกข์ในปัจจุบัน (6) เพื่อตัดทุกข์ในอนาคต (7) เพื่อผู้ที่ยังไม่
ศรัทธาได้มีความศรัทธา (8) เพื่อสร้างจิตของคนที่ศรัทธา ให้เกิดความเลื่อมใสยิ่ง ๆ ขึ้นไป
(9) เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระพุทธศาสนา (10) เพื่ออนุเคราะห์พระวินัย หลักการอันดีงาม
ของการอยู่ร่วมกันโดยสันติ (มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2565 : ออนไลน์)

มหาวิิทยาลััยมหาจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััย วิิทยาเขตเชีียงใหม่่
ผ่่านการรัับรองคุุณภาพจาก TCI (กลุ่่�มที่่� 2)
Journal of Prajna Ashram Vol.4 No. 2 | July - December 2022 19

การฆ่าหรือเบียดเบียนสัตว์ในทางพระพุทธศาสนา ต้องมองถึงพุทธ
จริยศาสตร์ขั้นพื้นฐาน คือ เบญจศีล เบญจธรรม ได้แก่ ศีล 5 ธรรม 5 โดยเฉาะในข้อ
“ปาณาติปาตา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ” คือ เว้นจากการฆ่าสัตว์ด้วยตนเอง และไม่
ใช้ให้ผู้อื่นฆ่า การเว้นจากการฆ่าสัตว์ มีความกรุณาในสัตว์ ซึ่งถือได้ว่าเป็นหลักของการให้
สิทธิเสรีภาพ (มูลนิธิศึกษาและเผยแพร่พระพุทธศาสนา, 2565 : ออนไลน์)
ดังนั้น การมองเห็นถึงสิทธิเสรีภาพ คือ การมีสิทธิและหน้าที่ในการพึงปฏิบัติ
ให้เป็นพระสงฆ์ที่ดี มีเมตตากรุณา ไม่อิจฉาริษยา เห็นผิดเป็นชอบ และดำ�รงตนเป็นแบบ
อย่างที่ดีแก่ประชานทุกชาติศาสนา และต้องดำ�รงตนให้อยู่ในหลักการปกครองเพื่อความ
สุขสันติของสังคม ซึ่งจะเห็นได้ว่า พระสงฆ์เป็นแบบอย่างของสัตบุรุษหรือผู้ดี ในทิศทาง
ของการให้ การเสียสละตนเอง โดยมอบสิทธิแก่ประชาชนเพื่อข่มคนชั่ว ปกป้องช่วยเหลือ
คนดี อันจะเกิดเป็นแรงศรัทธาแก่ผู้คนในสังคมให้ดำ�รงตนกะทำ�ความดี และการละเว้น
การเบียดเบียน การไม่เข่นฆ่าผู้อื่นทางจิตใจ การไม่อาฆาตแค้นหรือปองร้ายในรูปแบบ
ต่าง ๆ เท่านี้ความเป็นสิทธิเสรีภาพที่ดีก็จะเกิดขึ้นและเป็นประโยชน์สุขแก่มวลมนุษย์ชาติ
อย่างแน่นอน
สัตว์มีสิทธิเสรีภาพหรือไม่
หากกล่าวถึงมนุษย์ทัศนะทางวิทยาศาสตร์ จะเห็นว่ามนุษย์มีสปีชีส์หรือ
วิวัฒนาการแบบเดียวกับสรรพชีวิตบนโลกใบนี้ ดังนั้น ผู้วิจัยจึงมีข้อสนใจถึงสิทธิเสรีภาพ
ของสัตว์ที่มิใช่มนุษย์ โดยอาจจะไม่มองถึงเหตุผลของระดับปัญญาหรือความรู้ของสัตว์
ตามสัญชาติญาณ แต่จะมองถึงหลักของการเกิด แก่ เจ็บ และตายเช่นเดียวกับมนุษย์
แนวคิดสิทธิเสรีภาพของสัตว์ทางจริยศาสตร์ มีความคิดเห็นทีแ่ ตกต่างกัน โดย
ถือว่าสัตว์ไม่มสี ถานะทางศีลธรรม ถือว่าสัตว์มสี ถานะทางศีลธรรมแต่ไม่เท่ากับมนุษย์ ถือว่า
สัตว์มสี ถานะทางศีลธรรมทีเ่ ท่ากับมนุษย์ทกุ ประการ ซึง่ ทัศนะเหล่านีต้ า่ งใช้การตัดสินด้าน
สติปญั ญาและเหตุผล (พระสมุหอ์ ดิเรก อาทิจจฺ พโล (โลกะนัง), 2561 : 5) และปัจจุบนั ได้มี
ความเคลือ่ นไหวทางสิทธิเสรีภาพของสัตว์กระทัง่ เกิดเป็นทฤษฎีทางจริยศาสตร์ขน้ึ มา โดยมี
ลักษณะสำ�คัญ คือ (1) ตัง้ อยูบ่ นฐานคิดของลัทธิอรรถประโยชน์นยิ ม แบบเป้าหมายในการ
สร้างความพอใจจากการได้รบั ความนิยมของผูท้ เ่ี กีย่ วข้องให้ได้มากทีส่ ดุ (2) ให้ความสำ�คัญ
กับมโนทัศน์เรือ่ งความเสมอภาค และแผ่ขยายความเสมอภาคนั้นขยายไปยังสายพันธุ์อื่น
นอกเหนือจากมนุษย์ (3) การรับผิดชอบทางศีลธรรม ไม่ใช่เฉพาะเรื่องที่ลงมือทำ� แต่รวม

Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Chiang Mai Campus


Approve by TCI (Group 2)
20 วารสารปรััชญาอาศรม ปีีที่่� 4 ฉบัับที่่� 2 | กรกฎาคม - ธัันวาคม 2565

ถึงเรื่องที่ไม่ได้ลงมือทำ�ด้วย และ (4) การให้เหตุผลทางจริยธรรม โดยระดับของการหยั่งรู้


และระดับของการวิพากษ์
มุมมองในเรื่องสิทธิเสรีภาพของสัตว์จึงเป็นไปได้ในหลายกรณี แต่ผู้วิจัยมอง
เห็นว่าสิทธิเสรีภาพของสัตว์หากจะเชื่อมโยงกับหลักศีลธรรมของมนุษย์ก็ต้องมองถึงเรื่อง
ของกรรมในการถือกำ�เนิดอย่างที่ได้กล่าวไปในเบื้องต้น ซึ่งความเป็นสัตว์ก็ยังถือว่ามี
ศักยภาพในการฝึกฝน พัฒนาดี เรียนรู้ และเข้าใจระดับของการอยู่รอดได้เช่นเดียวกันกับ
มนุษย์ เช่นทัศนะกรรมในมุมมองของพุทธปรัชญา ดังนี้
สัตว์ทุกชีวิตบนโลกไม่ว่าจะเป็นมนุษย์หรือสัตว์ ย่อมมีกรรมเป็นของตนเอง
ทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นกรรมเก่าหรือกรรมใหม่ ความดีหรือความเลว กุศลวิบาก อกุศลวิบาก
ขึ้นอยู่กับพฤติกรรมที่ตนเองสั่งสมมา และทัศนะกรรมที่เป็นประเด็นสอดคล้องต่อสิทธิ
เสรีภาพของสัตว์ในที่นี้ คือ เรื่องอุปปีฬกกรรม อันเป็นกรรมบีบคั้นหรือเบียดเบียน และ
เรื่องอุปฆาตกกรรม กรรมตัดรอน (พระมหาบวรวิทย์ รตนโชโต, 2565 : ออนไลน์) โดย
กรรมที่กล่าวมานั้น จะทอดแทรกเข้าไปในเรื่องของสิทธิเสรีภาพในแบบของการกระทำ�
ซึ่งเป็นจุดหมายทาง จริยศาสตร์ที่มนุษย์มักยกมาอ้างเป็นเหตุและผลด้านการตัดสิน
ความดีความชั่ว ส่วนเรื่องทัศนะกรรมทางพุทธปรัชญา ด้านกรรมบีบคั้นนั้นเกิดขึ้นด้วย
ความพอใจที่จะกระทำ�อันเกี่ยวเนื่องด้วยความสุขและความทุกข์ ด้านกรรมตัดรอนก็มี
ลักษณะที่คล้ายคลึงกันในมุมมองของการตัดสินเรื่องความดีความชั่ว และหากจะมองใน
ความเป็นจริงด้านสิทธิเสรีภาพของสัตว์ด้วยกรรมในพุทธปรัชญา จะมองว่าเพราะเกิดมา
เป็นสัตว์จึงจะต้องรับกรรมโดยเป็นอาหาร เป็นสิ่งที่ต้องถูกทรมานเลี้ยงดูจับขัง เป็นสิ่งที่
ต้องนำ�มาต่อสู้กันอย่างป่าเถื่อน เป็นสิ่งที่มีค่าไม่เท่ามนุษย์ ก็เสมือนกับว่าการตัดสินในแง่
นี้จะเป็นเหตุผลที่ลบล้างทฤษฏีการเกิด แก่ เจ็บ และตายของพุทธศาสนาโดยสิ้นเชิง
ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสัตว์ ด้วยเหตุที่ว่า มนุษย์เป็นสัตว์สังคมแบบ
เผ่าพันธุ์นิยม คือ การมีความคิดเป็นอคติหรือทัศนคติพื้นฐานอันไร้ซึ้งเหตุผลต่อสิ่งมีชีวิต
อื่น ดังนั้นความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสัตว์จึงเป็นไปในลักษณะของการขูดรีดเพื่อผล
ประโยชน์ เพราะสัตว์ได้ถูกจัดให้อยู่ในสถานะที่ต่ำ�กว่ามนุษย์ การดำ�รงอยู่ของสัตว์จึง
เป็นไปเพื่อตอบสนองตามแนวคิดหรือต่อเป้าหมายของมนุษย์เท่านั้น (สุภาพรรณ ไกรเดช
และวรรณวิสาข์ ไชยโย, 2563 : 28) ดังนั้น ภายใต้กฎของสัญชาติญาณมนุษย์ที่ดิบเถื่อน
รุนแรง มองข้ามสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ อย่างเหยียดหยามดูหมิ่น กระทำ�การโดยบ้าอำ�นาจด้วย

มหาวิิทยาลััยมหาจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััย วิิทยาเขตเชีียงใหม่่
ผ่่านการรัับรองคุุณภาพจาก TCI (กลุ่่�มที่่� 2)
Journal of Prajna Ashram Vol.4 No. 2 | July - December 2022 21

ระบบทางวิวัฒนาการ ด้วยเหตุปัจจัยของการดำ�รงอยู่อย่างไร้ศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม


ต่อสัตว์ทุกประเภทซึ่งยังรวมถึงมนุษย์ในเผ่าพันธุ์กันเองอีกด้วย และหากจะยกเรื่องกรรม
มาเป็นข้ออ้างทั้งหมด ผู้วิจัย ในฐานะเป็นผู้คงแก่เรียนทั้งด้านทางโลกและทางธรรม จึง
มองว่าความสัมพันธ์ของมนุษย์และสัตว์มีความประเสริฐเกือบเท่าเทียมกัน ซึ่งจะขาดก็แต่
การฝึกฝนให้สัตว์เหล่านั้นได้รู้ถึงคุณค่าของการเกิดมารอยู่ร่วมโลกเดียวกันเท่านั้น
การทำ�วิจัยเชิงเอกสารเรื่อง “ศึกษาสิทธิเสรีภาพของสัตว์” ครั้งนี้ ผู้วิจัยจึง
ต้องการเพิ่มภูมิปัญญาเพื่อความรู้ด้านชีวิตหรือชีววิทยาของสัตว์ถึงการเกิด การดำ�รงชีพ
การตาย และวิเคราะห์แนวคิดสิทธิเสรีภาพของสัตว์ที่สอดคล้องกับสิทธิเสรีภาพกับมนุษย์
เพื่อให้เกิดเป็นข้อมูลทางวิชาการที่มีคุณค่าอย่างยวดยิ่งต่อทุกสรรพชีวิตในจักรวาล

วัตถุประสงค์การวิจัย
1) เพื่อศึกษาแนวคิดสิทธิสัตว์ในพุทธปรัชญา
2) เพื่อศึกษาแนวคิดสิทธิสัตว์ในมุมมองของปีเตอร์ ซิงเกอร์
3) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบแนวคิดสิทธิสัตว์ในพุทธปรัชญา ในมุมมองของ
ปีเตอร์ ซิงเกอร์

ระเบียบวิธีวิจัย
บทความวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มีขั้นตอน
ดังต่อไปนี้
(1) ศึกษาปรัชญาสิทธิเสรีภาพ ได้แก่ ปรัชญาสิทธิเสรีภาพของตะวันตก
ปรัชญาสิทธิเสรีภาพของตะวันออก
(2) วิเคราะห์สิทธิเสรีภาพของสัตว์และมนุษย์ และอภิปรายผลเรื่องทัศนะทาง
สิทธิเสรีภาพของมนุษย์ต่างดาว และรวบรวมองค์ความรู้เป็นผลลัพธ์ของงานวิชาการครั้ง
นี้ ด้วยคุณวุฒิและวัยวุฒิ ตำ�แหน่ง ความรู้ ประสบการณ์และความสามารถด้านการศึกษา
ของผู้วิจัยเองทั้งทางโลกทางธรรม
(3) สรุปผลการวิจัย

Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Chiang Mai Campus


Approve by TCI (Group 2)
22 วารสารปรััชญาอาศรม ปีีที่่� 4 ฉบัับที่่� 2 | กรกฎาคม - ธัันวาคม 2565

ผลการวิจัย
การวิจัยเอกสารเพื่อจัดทำ�เป็นบทความงานวิจัยเรื่อง “ศึกษาสิทธิเสรีภาพ
ของสัตว์” ผู้วิจัยต้องการแสดงให้เห็นถึงขีดศักยภาพของการศึกษาและการวิเคราะห์ผล
งาน จากการศึกษาในเอกสารตำ�ราและในฐานะที่ผู้วิจัยเป็นผู้ทรงคุณวุฒิทางพุทธศาสนา
ปรัชญา โดยผลของการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยยังหวังถึงประโยชน์ต่อประชาชนหมู่มาก และ
ประโยชน์แก่สรรพสิ่งในจักรวาล
1. ปรัชญาสิทธิเสรีภาพ
ปรัชญาสิทธิเสรีภาพของสัตว์ ผู้วิจัย ต้องการศึกษาเนื้อหาของสิทธิเสรีภาพ
โดยมองถึงภาพรวมด้านการให้ความหมาย ตัวแปร ทั้งในแง่ของปรัชญาและศาสนา ทั้ง
ศึกษาสิทธิเสรีภาพของสัตว์ และวิเคราะห์เพื่อให้เห็นว่า สัตว์และมนุษย์มีสิ่งใดที่เรียกได้
ว่าเป็นเรื่องของสิทธิเสรีภาพ ประกอบด้วยเนื้อหา ดังต่อไปนี้
1.1 ศึกษาปรัชญาสิทธิเสรีภาพ
ทัศนะคติสิทธิเสรีภาพทางอภิปรัชญา ไม่เชื่อว่ามนุษย์ได้ถูกโชคชะตากำ�หนด
ไว้ คือ ทุกอย่างที่เกิดขึ้นในชีวิตเป็นสิ่งที่มนุษย์ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ และกำ�หนดไม่ได้ ดัง
นั้นสิทธิและเสรีภาพจึงเป็นสิ่งที่ถูกกำ�หนดผ่านผู้กำ�หนดชะตามาแล้ว เช่นเป็นวิถีชีวิต
หรือเหตุการณ์และต้องยอมรับตามสิ่งที่เห็นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ยกตัวอย่าง แม้รู้ว่า
พระอาทิตย์ขึ้นตอนเช้าแต่ก็ไม่สามารถทำ�อะไรกับพระอาทิตย์ได้ เช่นเดียวกับรู้ว่าทุก
สรรพสิ่งก็ต้องตาย (John K.Roth and Frederick Sontag, 1988 : 193-194) ในแง่นี้
จึงเป็นทัศนะเดียวกับพุทธปรัชญา ด้วยการยอมรับความจริงที่จะต้องเกิดขึ้นกับทุกสรรพ
สิ่งหรือทุกสรรพชีวิตในจักรวาล และเป็นสัจธรรมทางกฎแห่งธรรมชาติที่ไม่สามารถหลีก
เลี่ยงได้
มนุษย์เกิดมาเสรี แต่โลกคือเครื่องพันธนาการ และมนุษย์มีเสรีภาพ ความ
เสมอภาค แต่เมื่อมนุษย์มาอยู่รวมกันคุณสมบัติหรือความนึกคิดของมนุษย์ได้เริ่มมีการ
เปลี่ยนแปลง เริ่มห่างเหินจากตัวเอง และเริ่มมีความโหดร้ายกับบุคคลอื่น ตลอดจนความ
ไม่เท่าเทียมกันในด้านต่าง ๆ (Suphaphol, S., 2014 : 175) หรือเรียกว่าการดำ�รงอยู่ภาย
ใต้วิถีทางสังคม ดังเช่น กฎที่มนุษย์ต้องยึดถือปฏิบัติร่วมกัน ประกอบด้วย (1) หลักปัจเจก
นิยม เป็นการยอมรับให้สิทธิและเสรีภาพแก่มวลมนุษย์ (2) หลักเสรีภาพ การให้มนุษย์

มหาวิิทยาลััยมหาจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััย วิิทยาเขตเชีียงใหม่่
ผ่่านการรัับรองคุุณภาพจาก TCI (กลุ่่�มที่่� 2)
Journal of Prajna Ashram Vol.4 No. 2 | July - December 2022 23

ทั้งปวงมีเสรีภาพในการพูด นับถือศาสนา การชุมนุมอย่างสันติ การแสดงออก ที่ไม่ขัด


ขวางความสงบเรียบร้อยของสังคม (3) ความเสมอภาค เป็นการยอมรับสิทธิและโอกาสใน
ความเท่าเทียมกัน ความเสมอภาค และ (4) ภราดรภาพ เป็นความสัมพันธ์ฉันท์เครือญาติ
หรือพี่น้องกัน การอยู่ร่วมกันอย่างเป็นมิตร (พระมหาเอกกวิน ปิยวีโร (อะซิ่ม) และคณะ,
2563 : 86) เสรีภาพ จึงเป็นวิถีทางที่ต้องมีดุลยภาพในการใช้สิทธิและเสรีของมนุษย์ โดย
จะต้องไม่เป็นการละเมิดสิทธิและเสรีภาพของผู้อื่น ซึ่งจัดเป็นดุลยภาพแห่งลักษณะของ
ทางสายกลาง หรือเป็นวิถีแห่งความพอดีมีจุดศูนย์กลาง (พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺ
โต), 2550 : 35)
อุปสรรคของเสรีภาพที่จะเกิดในสังคม คือ (1) การเป็นทาส หรือการยอมตน
อยู่ภายใต้อาณัติของผู้มีอำ�นาจ (2) กฎหมายที่ไร้ศีลธรรม ไม่ได้เป็นไปตามเจตจำ�นงเสรี
ของมนุษย์ในสังคม (3) รูปแบบที่นำ�มาใช้ปกครองไม่เป็นไปตามเจตจำ�นงของมนุษย์ใน
สังคม (พระมหานิกร ปโมทิโต และคณะ, 2563 : 130-131) ดังนั้น วิธีการแก้ไขอุปสรรค
ในเรื่องของสิทธิเสรีภาพจึงควรใช้แนวคิดแบบประนีประนอมทางพุทธปรัชญา ซึ่งมีทัศนะ
ที่สอดคล้องกับลัทธิเจตจำ�นงเสรี เพราะบางครั้งมนุษย์มีพลังอำ�นาจที่เลือกและควบคุม
การกระทำ�ต่าง ๆ ของตนเองภายในข้อจำ�กัดบางอย่างได้ (สุทัศน์ ปึงศิริพัฒนา, 2565 :
ออนไลน์)
ในทัศนะของปรัชญาสิทธิเสรีภาพ มนุษย์อาจจะเกิดมามีกรรมหรือไม่มีก็สุด
แล้วแต่การคิดหรือการเข้าใจของแต่ละบุคคลในสังคม ซึ่งหากมองถึงความจริงแล้ว มนุษย์
ย่อมไม่ยอมให้ถูกกีดกัน ถูกกักขัง ถูกรังแกหรือดูหมิ่น ทั้งลดทอนและเหยียดหยามศักดิ์ศรี
ของความเป็นมนุษย์ ไม่ว่าจะโดยทางใดก็ตาม และหากมองในทัศนะในเรื่องของกรรม จะ
กล่าวว่าเป็นกรรมที่ติดตัวตนเองมาแต่กำ�เนิดก็เห็นว่าจะไม่ถูกต้องเสียทีเดียว เพราะจริง
ๆ แล้ว มนุษย์ไม่สามารถเลือกเกิดหรือจุติมาในท้องของมารดาได้ กรรมที่ว่า จึงเป็นสิทธิ
และเสรีภาพที่มนุษย์พอเกิดขึ้นมาแล้ว ได้ประสานชีวิตเข้ากับความเป็นสังคมในระบบ
ของการอยู่รอด เป็นวิวัฒนาการที่ไม่อาจจะปฏิเสธได้ โดยหากมองว่า เสรีภาพหรือสิทธิ
ที่มนุษย์ถูกจำ�กัดขึ้นมานั้น มีเงื่อนไขอันใด ตัวแปรใด หรือใครกำ�หนด และใช้กฎเกณฑ์ใด
ในการตัดสิน ดังนั้น เสรีภาพหรือสิทธิของมนุษย์ จึงมิได้มีอยู่จริงตามระเบียบของวัฏฏะ
แต่เป็นไปตามกระแสของการเคลื่อนไหวแห่งรูปแบบทางธรรมของจักรวาล เช่น มนุษย์
เกิดขึ้นมา และรู้ได้ว่าเกิดขึ้นในตอนไหน คำ�ถามนี้จะเกิดขึ้นตอนไหน และมนุษย์สร้าง
บรรทัดฐานทางสังคมขึ้นมาเพื่ออะไร หากไม่ใช่การกักขังความเป็นมนุษย์เพื่อไม่ให้จิต

Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Chiang Mai Campus


Approve by TCI (Group 2)
24 วารสารปรััชญาอาศรม ปีีที่่� 4 ฉบัับที่่� 2 | กรกฎาคม - ธัันวาคม 2565

วิญญาณอันเลวร้ายออกไปร้ายผู้อื่น เช่นทัศนะที่ว่า หากไม่มีความชั่ว ความดีจะเกิดขึ้นมา


ได้อย่างไร กระนั้น ความชั่วจึงเป็นสิทธิเสรีภาพที่มนุษย์ได้ทอนมันลงเหลือเพียงแค่ความ
คิด หรือการแสดงออกในรูปแบบอื่นที่ไม่ผิดกฎระเบียบทางสังคม หรือการไม่ขัดแย้ง การ
ไม่ทำ�ร้าย การไม่เบียดเบียนกระทั่งไม่สามารถควบคุมมันได้
สิทธิเสรีภาพ เป็นสิ่งที่ติดตัวมนุษย์มาตั้งแต่กำ�เนิด และมนุษย์สามารถเลือก
ได้ว่า จะกระทำ�การใด ๆ ก็ได้ที่ไม่ขัดแย้ง ไม่เป็นภัยต่อ ต่อสังคม และมนุษย์ยังจะต้อ
ปกป้องสิทธิเสรีภาพของตนเอง ซึ่งหากมีการถูกระทำ�ไม่ว่าด้วยเหตุผลกลใดก็ตาม มนุษย์
สามารถที่จะป้องกันอำ�นาจด้วยชอบธรรมแห่งสีรีภาพนั้นได้ และทำ�ได้โดยมขอบเขตของ
ความดี หรือสิ่งที่มนุษย์คิดใคร่ครวญร่วมกันในการแสวงหาข้อตกลงแบบสังคม เพื่อแก้ไข
ในเรื่องของสิทธิเสรีภาพแล้ว

1.2 ปรัชญาสิทธิเสรีภาพของสัตว์
พฤติกรรมการกระทำ�หรือการแสดงออกของสัตว์เพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้า
การเรียนรู้พฤติกรรมเพื่อเพิ่มโอกาสในการอยู่รอด ซึ่งสัตว์จะแสดงพฤติกรรมไปในทาง
ที่เป็นประโยชน์เพื่อสมถะภาพทางร่างกายสูงสุดต่อตัวเอง เช่น พฤติกรรมเลือกกินการ
กินอาหาร พฤติกรรมการเลือกคู่ พฤติกรรมเหล่านี้จะมีมาแต่กำ�เนิดโดยไม่ต้องเรียนรู้มา
ก่อน พฤติกรรมสัตว์แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ (1) มีแบบแผนและมีลักษณะเฉพาะของ
แต่ละเผ่าพันธุ์หรือสปีชีส์ ได้แก่ เป็นการเคลื่อนที่เข้าหาหรือออกจากสิ่งเร้าโดยมีทิศทาง
ไม่แน่นอน เป็นการเคลื่อนเข้าหาหรือออกจากสิ่งเร้าโดยมีทิศทางแน่นอน พฤติกรรมที่มี
แบบแผนแน่นอน โดยสิ่งเร้าจากภายนอก และ (2) พฤติกรรมการเรียนรู้ ที่สามารถปรับ
เปลี่ยนเนื่องจากประสบการณ์ที่ไม่ใช่เกิดจากการมีอายุมากขึ้น เป็นพฤติกรรมการเรียน
รู้จากยีนและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ พฤติกรรมความเคยชิน เปลี่ยนพฤติกรรมหรือการตอบ
สนองแบบเดิม พฤติกรรมการฝังใจ สิ่งเร้าที่กระตุ้นให้เกิดพฤติกรรม พฤติกรรมการเรียน
รู้แบบมีเงื่อนไข เรียนรู้ที่จะนำ�สิ่งเร้าใหม่เข้าไปทดแทนสิ่งเร้าเดิม พฤติกรรมการลองผิด
ลองถูก เชื่อมโยงพฤติกรรมหนึ่งกับการได้รางวัลหรือการถูกลงโทษ พฤติกรรมการลอก
เลียนแบบ เป็นพฤติกรรมที่เกิดจากการที่สัตว์ดูพฤติกรรมของสัตว์อื่นและเรียนรู้ข้อมูล
สำ�คัญบางอย่างแล้วทำ�ตาม พฤติกรรมการรู้จักใช้เหตุผล สามารถแสดงพฤติกรรมได้ถูก
ต้องตั้งแต่ครั้งแรก ถึงแม้ว่าจะไม่เคยมีประสบการณ์มาก่อน พฤติกรรมการใช้ความคิด
ประมวลข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ เป็นลักษณะถ่ายทอดทางพันธุกรรม และเป็นส่วนสำ�คัญ
ในการแสดงออกของพฤติกรรม (อาภรณ์ รับไซ, 2565 : ออนไลน์)
มหาวิิทยาลััยมหาจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััย วิิทยาเขตเชีียงใหม่่
ผ่่านการรัับรองคุุณภาพจาก TCI (กลุ่่�มที่่� 2)
Journal of Prajna Ashram Vol.4 No. 2 | July - December 2022 25

มนุษย์คือสัตว์ประเภทหนึ่ง และมีวิวัฒนาการเพื่อการอยู่หรือดำ�รงชีพให้อยู่
รอดดังที่กล่าวมาในเบื้องต้น และมนุษย์ในทัศนะทางศาสนาจะมีความเชื่อที่ว่า มนุษย์
เกิดมาโดยมีความประเสริฐ หรือเป็นสิ่งที่สัตว์ประเภทอื่นไม่สามารถมีหรือเรียนรู้ได้ คือ
สติปัญญา และในที่นี้ สติปัญญาก็คือสิ่งที่เร้าที่ทำ�ให้มนุษย์สามารถปกป้องตนเองให้มี
สิทธิเสรีภาพได้ในสังคม ดังนั้น พฤติกรรมหรือวิวัฒนาการของสัตว์ จึงสำ�คัญด้านเหตุผล
การพัฒนาวิวัฒนาการ การเรียนรู้เข้าใจระบบระเบียบทางความคิดที่ซับซ้อน และต่อการ
ตัดสินเพื่อให้สิทธิและเสรีภาพแก่สัตว์ในทุก ๆ ประเภทเช่นกัน
สัตว์ จึงเป็นสิ่งมีชีวิตที่สมควรได้รับสิทธิเสรีภาพ ไม่ควรมีการกักขัง ทำ�ร้าย
หรือนำ�ไปเพื่อเป็นสิ่งที่สนองตัณหาของมนุษย์ ซึ่งหากกล่าวถึงการดำ�เนินชีวิตอันเป็นเรื่อง
สามัญปรกติของมนุษย์แล้ว ก็หลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องประทังชีวิตเพื่อความอยู่รอด โดย
ในทางพุทธศาสนา คือการมีชีวิตอยู่หรือจะเรียกว่าในระหว่างทางของการเกิดและตายนี้
ก็ต้องบริโภคเพื่อการอิงอาศัยเป็นปัจจัยที่เกื้อหนุนให้ปฏิบัติธรรมได้ เพื่อให้มีเรี่ยวแรงใน
การทำ�ประโยชน์สุขแก่สังคม แต่การบริโภคนั้นก็ต้องอยู่ในขอบเขตของสิทธิเสรีภาพดัง
ที่ได้กล่าวมา ตามแต่ปัจจัยของเจตนาเพื่อทำ�ให้โลกใบนี้สุขสงบไม่มีการเบียดเบียน และ
การทำ�ตนเองให้เกิดเป็นประโยชน์ต่อสังคมภายใต้ขอบเขตทางสิทธิและเสรีภาพที่มีอยู่
การกินอาหารของพืชและสัตว์ตามสัญชาตญาณ การอยู่รอด และสืบเผ่าพันธุ์
ไม่ถือเป็นความขัดแย้งทางศีลธรรม และพระสงฆ์ในพระพุทธศาสนามหายาน ได้ปฏิเสธ
การบริโภคเนื้อสัตว์เด็ดขาด เพราะถือว่าเป็นการสนับสนุนให้เกิดการฆ่าสัตว์ไม่มีที่สิ้นสุด
พระพุทธศาสนามหายาน ยังเชื่ออีกว่าพืชเป็นสิ่งมีวิญญาณ การฆ่าพืชจึงเป็นการพราก
ชีวิตเหมือนการฆ่ามนุษย์และสัตว์ ซึ่งพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทมุ่งความเป็นอยู่ที่เรียบ
ง่าย บริโภคอาหารที่ชาวบ้านเห็นว่าสมควรและมีกำ�ลังจัดถวายได้ และจิตมนุษย์สามารถ
พัฒนาให้สูงขึ้นได้ โดยไม่ขึ้นกับการบริโภคมังสวิรัติ หรือเนื้อสัตว์แต่อย่างใด (พระครู
อนุกูลกัลยาณกิจ, 2560 : 46)
2. วิเคราะห์สิทธิเสรีภาพของสัตว์
วิเคราะห์สิทธิเสรีภาพของสัตว์ ผู้วิจัย ได้มีทัศนะด้วยการรวบรวมองค์ความ
รู้ทางสิทธิเสรีภาพ และการมองสรรพสิ่งแบบระเอียดด้วยหลักการทางพุทธศาสนา ซึ่ง
ทำ�ให้ผู้วิจัยเกิดความคิดที่ว่า มนุษย์มีความแตกต่างจากสัตว์ด้วยสปีชีส์ หรือเรียกว่าความ
ประเสริฐ ดังนั้น การวิเคราะห์ในประเด็นต่าง ๆ จึงจำ�เป็นต้องใช้การตีความและพรรณนา

Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Chiang Mai Campus


Approve by TCI (Group 2)
26 วารสารปรััชญาอาศรม ปีีที่่� 4 ฉบัับที่่� 2 | กรกฎาคม - ธัันวาคม 2565

ให้เห็นความสำ�คัญของสิทธิเสรีภาพในแง่ของสิ่งมีชีวิต หรือ มนุษย์ก็คือสิ่งมีชีวิตเหมือน


กับสัตว์ และไม่อาจหลีกหนีการเกิด การดำ�รงอยู่ด้วยการเลี้ยงชีวิตให้เจริญเติบโต การมี
สังคม และการสร้างบางสิ่งแก่โลก รวมถึงจุดสุดท้ายที่ไม่ต่างกันคือความตาย ประกอบ
ด้วยเนื้อหาดังต่อไปนี้
2.1 สิทธิเสรีภาพของสัตว์ประเภทจุลินทรีย์กับมนุษย์
จุลินทรีย์ เป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก ที่ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ได้แก่
แบคทีเรีย อาร์เคีย รา และยีสต์ สามารถพบจุลินทรีย์ได้แม้แต่ในสภาวะแวดล้อมที่สิ่งมี
ชีวิตอื่นอยู่ไม่ได้ หรือแม้กระทั่งในที่ไม่มีออกซิเจน มีชีวิตเซลล์เดียวหรือหลายเซลล์ โดย
แต่ละเซลล์เป็นอิสระจากกัน จุลินทรีย์มีประโยชน์ช่วยรักษาสิ่งแวดล้อมให้สะอาด เช่น
การนำ�จุลินทรีย์มาบำ�บัดสารมลพิษที่ย่อยสลายยาก จุลินทรีย์กับการแพทย์โดยใช้เป็น
ตัวกลางในการผลิตสารที่จำ�เป็นเพื่อการรักษาโรค และจุลินทรีย์ที่ใช้ในการผลิตเครื่อง
ดื่ม อาหารและอาหารเสริม และจุลินทรีย์กับการเกษตร ปุ๋ยชีวภาพ ในสภาพธรรมชาติ
จุลินทรีย์ที่มีอยู่อย่างหลากหลายจะมีการควบคุมกันเองในวัฏจักรของสิ่งมีชีวิต เช่น ทำ�
หน้าที่ป้องกัน กำ�จัด และยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ที่เป็นสาเหตุของโรคพืชด้วย
การหมุนเวียนทรัพยากรให้ใช้ประโยชน์ได้ใหม่ในวัฏจักรของธาตุอาหารพืชและดิน และ
จุลินทรีย์บางชนิดสามารถสร้างอาหารได้เอง (digitalschool.club, 2565 : ออนไลน์)
ดังนั้น สัตว์ประเภทจุลลินทรีย์จึงมีประโยชน์มากกว่ามนุษย์บางจำ�พวก และ
หากมองถึงสิทธิเสรีภาพของจุลินทรีย์กับมนุษย์ จะมองได้ว่าความเป็นจุลลีทรีย์เป็นเซลล์
ที่แตกตัวกันเพื่อทำ�หน้าที่ในการสร้างสมดุลให้กับธรรมชาติ เสรีภาพดังกล่าวไม่อาจมี
อะไรมาบีบคั้นหรือหยุดกั้นได้ และจุลลินทรีย์ยังสามารถดำ�รงอยู่ได้ในทุกสภาพ ไม่เดือด
ร้อน รู้จักการปรับตัว ซึ่งก็เปรียบได้กับว่าเป็นมนุษย์ในลักษณะที่รักในความสงบ สมถะ
และสร้างคุณประโยชนให้กับโลกและธรรมชาติ และหากมนุษย์ไม่เรียนรู้ปรับตัวเพื่อเข้าใจ
ถึงชีวิตของจุลินทรีย์ในธรรมชาติที่ดำ�รงอยู่ ก็เท่ากับว่ามนุษย์ได้ทำ�ลายสิทธิเสรีภาพของ
ตนเองเช่นกัน
2.2 สิทธิเสรีภาพของสัตว์ประเภทเชื้อไวรัสกับมนุษย์
ไวรัส คือ อนุภาคขนาดเล็ก และไม่สามารถมองด้วยตาเปล่าหรือกล้องจุลทรรศน์
ธรรมดาได้ ไวรัสเปรียบเหมือนเป็นกาฝากทีอ่ ยูใ่ นร่างของสิง่ มีชวี ติ อืน่ ไม่สามารถเติบโตหรือแพร่
พันธุน์ อกเซลล์อน่ื ได้ เพราะไวรัสมีโครงสร้างด้วยสารพันธุกรรมเพียงแค่หนึง่ ชนิด จึงจำ�เป็นต้อง
มหาวิิทยาลััยมหาจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััย วิิทยาเขตเชีียงใหม่่
ผ่่านการรัับรองคุุณภาพจาก TCI (กลุ่่�มที่่� 2)
Journal of Prajna Ashram Vol.4 No. 2 | July - December 2022 27

อาศัยการทำ�งานจากเซลล์โฮสต์หรือเซลล์เจ้าบ้านทีไ่ วรัสเข้าไปฝังตัว เช่น พืช สัตว์ และมนุษย์


ตามชนิดและสายพันธุข์ องไวรัสนัน้ และโดยปกติไวรัสจะไม่มกี ารติดต่อข้ามสายพันธุ์ ยกเว้น
ไวรัสนัน้ จะเกิดการกลายพันธุ์ และไวรัสจะทำ�ให้เซลล์ตาย ทำ�ให้เซลล์เกิดการเปลีย่ นแปลง
คุณสมบัตกิ ลายเป็นเซลล์มะเร็งได้ (ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพือ่ การศึกษา, 2565 : ออนไลน์)
ดังนัน้ ไวรัสจึงเป็นสัตว์ประหลาด ทีต่ อ้ งเกาะกินเซลล์ของสิง่ มีชวี ติ อืน่ เพือ่ ยังชีพ
และยังทำ�ให้สง่ิ มีชวี ติ อืน่ ต้องดิน้ เดยับตายก่อนวัยอันควร แต่หากมองในแง่ของสิทธิเสรีภาพ
กับตัวของไวรัสเอง ถือว่าเป็นสัตว์ทม่ี สี ปีชสี ท์ โ่ี หดร้ายทารุณ และถือว่าเป็นแบบอย่างของ
ความชัว่ ในทัศนะทางจริยศาสตร์ได้ดว้ ย เนือ่ งจากการดำ�รงชีวติ เพือ่ ความอยูร่ อดของสัตว์
ประเภทนีท้ ต่ี อ้ งทำ�ร้ายหรือทำ�ให้เกิดการสูญเสียสิง่ ใดสิง่ หนึง่ แก่สง่ิ มีชวี ติ อืน่ หากเปรียบกับ
มนุษย์ กล่าวได้วา่ จะต้องมีนสิ ยั ดุรา้ ยชอบแยกเคีย้ วเล็บใส่ผอู้ น่ื ไม่มกี ารประนีประนอมหรือ
ความเมตตาใด ๆ และเป็นเสมือนผูท้ ค่ี อยขัดขวาง ก่อกวน ทำ�ลายสิทธิและเสรีภาพ ชอบ
ทำ�สงครามหรือใช้ความรุนแรงในการทีจ่ ะทำ�ให้อกี ฝ่ายต้องสูญเสียนัน่ เอง

2.3 วิเคราะห์สิทธิเสรีภาพของสัตว์กับมนุษย์
ในการวิเคราะห์ตีความสิทธิเสรีภาพของสัตว์กับมนุษย์ ผู้วิจัยต้องการนำ�เสนอ
สัตว์ในประเภทของจุลลินทรีย์และไวรัส ซึ่งเป็นสัตว์ที่มนุษย์มักมองข้าถึงสิทธิเสรีภาพ
และมนุษย์ยังไม่นำ�มากินเพื่อประทังชีวิต หรือมองถึงปัจจัย 4 สัตว์ทั้ง 2 สปีชีส์ (จุลไวรัส)
นี้แทบจะไร้ความหมายกับการดำ�รงชีวิตของมนุษย์อย่างสิ้นเชิง ดังนั้นความน่าสนใจใน
การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยจึงหยิบยกประเด็นสิทธิเสรีภาพของสัตว์ คือ จุลินทรีย์และไวรัสมา
เป็นข้อทดสอบถึงภูมิปัญญาที่เปี่ยมล้นและเหมาะสมของมนุษย์
ซึ่งในการทำ�วิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยยังต้องการนำ�เสนอทฤษฎีอันมีที่มาจากการ
ศึกษาและวิเคราะห์ด้วยองค์ความรู้ที่เปี่ยมล้นทางวิชาการของโลกและธรรม ดังที่ได้กล่าว
มาเบื้องต้นแล้ว ซึ่งหากเป็นไปได้ ผู้วิจัยยังสนใจที่จะนำ�เสนอทฤษฎีการวิเคราะห์ตีความนี้
กับการอภิปรายผลต่อวงการปรัชญาระดับโลก ให้เป็นที่ประจักษ์แก่สายตาถึงแก่นแท้แห่ง
สิทธิและเสรีภาพแก่มวลมนุษยชาติอีกด้วย
ตีความสิทธิเสรีภาพทางสุนทรียเจตคติ
สัตว์ที่มีความหมายและไร้ความหมายด้านความงาม ด้วยความงดงามของจุล
ไวรัส มีอานุภาคที่เล็กมากและเล็กกระทั่งเป็นสิ่งที่มนุษย์ไม่เห็นความหมายหรือคุณค่าใด
Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Chiang Mai Campus
Approve by TCI (Group 2)
28 วารสารปรััชญาอาศรม ปีีที่่� 4 ฉบัับที่่� 2 | กรกฎาคม - ธัันวาคม 2565

ในตัวมัน แต่ในทัศนะของพุทธะที่เปี่ยมล้นด้วยเมตตา ซึ่งเมตตาในที่นี้ ก็คือสิทธิเสรีภาพ


ที่มนุษย์ควรจะมอบให้แก่สรรพสิ่ง เช่นการลอยแคว้งในจักรวาล หรือการถือกำ�เนิดของ
จักรวาล ด้วยวิธีการย้อนถามกลับไปว่าจักรวาลเกิดขึ้นมาได้อย่างไร คำ�ตอบก็คือ จักรวาล
นั้นเกิดขึ้นมาจากความว่างเปล่า และมันเกิดขึ้นมาจากการแตกเป็นเสี่ยง ๆ ของพลังงาน
หรือจุลไวรัสรึเปล่า เพราะจุลไวรัสเป็นสิ่งที่มองไม่เห็นได้ด้วยตาเปล่า และมนุษย์ก็ยัง
สัมผัสถึงมันไม่ได้
จุลไวรัสยังช่วยกัดกร่อนความเป็นอัตตาของมนุษย์ให้เกิดเป็นบางสิง่ ทีก่ ลับไปสู่
สภาของเสรีภาพทีม่ นุษย์มมี าก่อนจะถือกำ�เนิด และหากมองถึงความงาม ก็ตอ้ งมองถึงคุณ
ประโยชน์และโทษทีจ่ ะต้องเกิดขึน้ แก่มนุษย์ ในแง่หนึง่ จุลไวรัสทำ�หน้าทีอ่ นั เป็นประโยชน์
อย่างมหาศาลในการมอบสิทธิเสรีภาพทีป่ ระเสริฐแก่มนุษย์ เพราะหากไม่ความชัว่ ความดีจะ
เกิดขึน้ มาได้อย่างไร และความเป็นประโยชน์ของจุลไวรัสยังแผ่ไพศาลอย่างมีเจตจำ�นงเสรีแก่
ดินและหญ้า ทำ�ให้ดนิ อันเป็นผืนแผ่นก้อนประสานกันของโลกได้เคลือ่ นไหวหรือกลิง้ ไปอย่าง
สมดุลในห้วงจักรวาล ฉะนัน้ มนุษย์จงึ ควรจะสำ�เหนียกในบุญคุณของจุลไวรัสอย่างถึงทีส่ ดุ
เพราะมีอกี ข้อหนึง่ คือการทีจ่ ลุ ไวรัสทำ�ให้มนุษย์ตอ้ งสัง่ สมประสบการณ์และสติปญั ญาเพือ่
แก้ไขปัญหาว่า จุลไวรัสจะเข้ามาทำ�ลายล้างสิทธิเสรีภาพของมนุษย์เมือ่ ใด
สุนรียเจตคติ คือ ความคิดของมนุษย์ทเ่ี กิดขึน้ จากจุลไวรัสเล็ก ๆ เป็นอนุภาค
ทีก่ ระจัดกระจายโดยเสรีอย่างไร้เป้าหมาย และกลับมีเป้าหมายเพือ่ สรรสร้างให้อคติถกู ลด
ทอนลงไปเหลือเพียงแค่ความจริงของชีวติ หรือการทีจ่ ลุ ไวรัสเป้ฯสัตว์ทไ่ี ร้ความหมาย มนุษย์
จึงมีความหมายในแง่ของสถานะทีจ่ ะกระทำ�การใดก็ได้บนโลกด้วยวิวฒ ั นาการอันไม่มที ส่ี น้ิ
สุด และหากถามว่า สิทธิเสรีภาพสวยงามหรือไม่ มนุษย์เองก็คงจะตอบว่ามันสวยสดงดงาม
และแสนจะเอร็ดอร่อยอย่างกับว่า มนุษย์มปี ญ ั ญาในการทำ�ลายไวรัสทีเ่ ป็นบ่อเกิดของโรค
ร้ายของมนุษย์ ด้วยเทคโนโลยีทางการแพทย์ทท่ี นั สมัยจากสันนิฐานของวิวฒ ั นาการ และ
มนุษย์กย็ งั มีปญ
ั ญาเพิม่ ขึน้ ไปอีก ในการเรียกใช้ความรูเ้ พือ่ จัดการให้จลุ ลินทรียก์ ลายเป็นสัตว์
ทีม่ ปี ระโยชน์ตอ่ โลกใบนีไ้ ด้
ดังนัน้ ความมีสทิ ธิเสรีภาพของมนุษย์ จึงต้องย้อนกลับไปมองว่า สิง่ ทีม่ นุษย์มอง
ไม่เห็นตัง้ แต่ในยุคเริม่ แรกของการบ่มเพาะความรูค้ อื อะไร และสิง่ ใดทีแ่ ยกระหว่างมนุษย์กบั
สัตว์ ในขณะทีก่ ารเกิด การดำ�รงอยู่ และการตายเป็นธรรมชาติทเ่ี รียกว่าสามัญลักษณะทีไ่ ม่
สรรพสิง่ ใดหนีพน้ ไปได้ และสิง่ ทีอ่ ยูเ่ หนือกว่ามนุษย์ทง้ั หลายในทางอภิปรัชญา จริยศาสตร์

มหาวิิทยาลััยมหาจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััย วิิทยาเขตเชีียงใหม่่
ผ่่านการรัับรองคุุณภาพจาก TCI (กลุ่่�มที่่� 2)
Journal of Prajna Ashram Vol.4 No. 2 | July - December 2022 29

หรือคุณวิทยา ควรจะเรียกว่าเป็นสิทธิเสรีภาพทีเ่ ท่าเทียมของสรรพสิง่ หรือไม่

อภิปรายผล
จากการตีความในเบือ้ งต้น ผูว้ จิ ยั จึงคิดเห็นว่า สติปญ ั ญาของมนุษย์นน้ั ยังมิใช่
วิวฒ ั นาการทีก่ า้ วล้�ำ ในเมือ่ มนุษย์ตา่ งดาวโลดแล่นอยูใ่ นอวกาศเป็นว่าเล่น และยังทิง้ ล่อง
ลอยไว้บนโลกอีกมากมายหลายแห่ง ในขณะทีม่ นุษย์ยงั เทีย่ วแต่บนิ วนเวียนไปมาอย่าง
อวดแบ่ง ซึง่ ในมุมมองนี้ ผูว้ จิ ยั คิดเห็นว่า มนุษย์ตา่ งดาวมีววิ ฒ ั นาทีส่ ดุ ติง่ กระดิง่ แมวและ
ยังล้�ำ หน้ากว่ามวลมนุษย์หลายเท่า ทัง้ ยังไม่มาบีบค้นลิดรอนสิทธิเสรีภาพของมนุษย์อนั
กระจอกงอกง่อย และผูว้ จิ ยั จะกล่าวถึงสิทธิเสรีภาพของมนุษย์ตา่ งดาว ทีบ่ นิ ร่อนในอวกาศ
อันเวิง้ ว้างได้อย่างสบายใจเฉิบ ในขณะทีม่ นุษย์ยงั ไว้หมา 5 ขา มนุษย์ตา่ งดาวได้บนิ มาตัด
หญ้าเป็นสัญลักษณ์ทม่ี นุษย์ตอ้ งตีความแล้วไม่รเู้ ท่าไหร่ ดังนัน้ มนุษย์จงสำ�เหนียกถึงการ
มอบสิทธิเสรีภาพีเ่ ท่าเทียมและไม่กา้ วก่ายต่อสิทธิของผูอ้ น่ื หรือเรียกแบบพวกดิบเถือ่ นว่า
อย่าไปเสือกกับเรือ่ งของผูอ้ น่ื ให้มากนัก เพราะบางทีเขาผูน้ น้ั อาจจะเป็นผูว้ างรากฐานของ
จักรวาลทางช้างเผือกหมายเลข 9819273096412435748 ก็เป็นได้
เอเลียนทีต่ ดิ ต่อสือ่ สารกับเราได้ อาจมีอย่างน้อย 36 อารยธรรมในทางช้าง
เผือก สิง่ มีชวี ติ ทรงภูมปิ ญ ั ญาต่างดาว ต้องติดต่อสือ่ สสารโดยสมการของเดรก ซึง่ สมการ
นีใ้ ช้ปจั จัย 7 ประการในการคำ�นวณเพือ่ ประมาณค่าตัวเลขทีเ่ ป็นไปได้เกีย่ วกับอารยธรรม
ต่างดาว และมีนกั วิทยาศาสตร์พยายามมองหาเอเลียนด้วยสัญญาณจากสิง่ มีชวี ติ เรืองแสง
เรียกว่า แผ่นบันทึกข้อมูลทองคำ� ของนาซา และมีการกำ�หนดขอบเขตของปัจจัยต่าง ๆ ซึง่
เป็นสมมติฐานทีใ่ ช้ในการคำ�นวณ และพบว่ามีโอกาสทีอ่ ารยธรรมขัน้ สูงของเอเลียนจำ�นวน
4-211 กลุม่ จะยังคงดำ�รงอยูใ่ นกาแล็กซีทางช้างเผือกในปัจจุบนั และสมมติฐานในการ
คำ�นวณของมนุษย์ ทีต่ ง้ั อยูบ่ นหลักการทีว่ า่ สิง่ มีชวี ติ ทรงภูมปิ ญ ั ญาสามารถจะเกิดขึน้ ได้บน
ดาวทุกดวงทีม่ สี ภาพคล้ายโลก เมือ่ เวลาผ่านไปราว 4.5-5.5 พันล้านปี หลังดาวเคราะห์นน้ั
ก่อตัวขึน้ จนมีอายุเก่าแก่เท่ากับโลก วิวฒ ั นาการจะนำ�สิง่ มีชวี ติ ต่างดาวมาสูอ่ ารยธรรมขัน้
สูง จนสามารถติดต่อสือ่ สารข้ามห้วงอวกาศได้เช่นเดียวกับมนุษย์หรือก้าวหน้ายิง่ กว่า และ
สิง่ มีชวี ติ ทรงภูมปิ ญ ั ญาทีอ่ ยูใ่ กล้โลกทีส่ ดุ อาจอยูห่ า่ งออกไปถึงราว 17,000 ปีแสง ในขณะ
ทีส่ ง่ิ มีชวี ติ ทรงภูมปิ ญั ญาทีอ่ ยูใ่ กล้เราทีส่ ดุ ห่างออกไปนับ 10,000 ปีแสง (bbc.com, 2565
: ออนไลน์)
ทัศนะพุทธเสรีวิทยา จะมองว่ามนุษย์มีสิทธิโดยสมบูรณ์ได้ก็ต่อเมื่อมนุษย์
สามารถบังคับจิตใจของตนเองให้แข็งแกร่งพอที่จะรับรู้ถุงสภาวะต่างๆ ที่เข้ามากระทบ
Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Chiang Mai Campus
Approve by TCI (Group 2)
30 วารสารปรััชญาอาศรม ปีีที่่� 4 ฉบัับที่่� 2 | กรกฎาคม - ธัันวาคม 2565

ความรู้สึก และมนุษย์จะรู้ได้ว่าจิตวิญญาณอันด้วยพัฒนาของมนุษย์ยั้งกำ�ลังบีบค้นเพื่อ
ลดหรือทอนสิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่นในสังคมอยู่ นั่นก็เท่ากับว่า มนุษย์ต่าง
ดาวที่ไม่สามารถนับจำ�นวนได้และมีวิวัฒนาการก้าวหน้ากว่ามนุษย์นับ 10,000 ปีแสง
กำ�ลังหัวเราะให้กับเสรีภาพอันกระจอกงอกง่อยของมนุษย์
ข้อแรกต้องย้อนไปถึงพืน้ ฐานของธรรมชาติกอ่ นเลยว่า ทีจ่ ริงมนุษย์มอี สิ รภาพ
เสรีภาพตามธรรมชาติ มนุษย์เกิดมาอยูภ่ ายใต้กฎเกณฑ์ของธรรมชาติ มนุษย์จงึ มีหน้าทีท่ ่ี
จะต้องปฏิบตั ติ นให้ถกู ตามกฎเกณฑ์ของธรรมชาติ เพือ่ ให้บรรลุถงึ พระนิพพาน ถ้าสังคม
ไม่มหี ลักศีลธรรมก็จะกลายเป็นเรือ่ งทำ�ลายโลก ดังนัน้ การมีความรักความเมตตา เป็น
อิสระจากความเห็นแก่ตวั และการให้อภัยในผูอ้ น่ื จึงเป็นจิตทีพ่ ฒ
ั นาถึงทีส่ ดุ และจะช่วยให้
สังคมน่าอยูแ่ ละเกิดความสงบสุขได้ ดังนัน้ หลักการเสรีภาพจะสะท้อนให้เห็นว่าเสรีภาพ
ทางใจเป็นเงื่อนไขของหนึ่งที่ไม่ควรเข้าไปก้าวก่ายพื้นที่ส่วนตัวอันเป็นอธิปไตยของผู้อ่ืน
และหากกฎทางสังคมทำ�ให้เกิดทัศนคติทไ่ี ม่ดหี รือปิดกัน้ เสรีภาพทางใจมนุษย์ มนุษย์ทกุ คน
ก็ควรตระหนักถึงสิทธิอนั ชอบธรรมทีจ่ ะปฏิเสธ และไม่ตอ้ งภักดีหรืออาจต่อต้านต่อการกระ
ทำ�นัน้ (เฮนรี่ เดวิด ธอโร, 2563 : 88)
ภายใต้กฎจักรวาลแห่งดุลยภาพ ระหว่างมนุษย์ตา่ งดาว มนุษย์ และสัตว์ จึง
ถือว่ามีสทิ ธิอนั ชอบธรรมมาตัง้ แต่เกิดและเป็นเสรีภาพทีส่ ร้างความเสมอภาค ความเท่า
เทียม ความสงบสุขให้เกิดขึน้ ในสังคมทุกชนชาติ และจะยังเป็นการตอกย้�ำ สัจธรรมของวัฎ
จักรอันสวยงามหอมกลมกล่อมทีม่ นุษย์ตา่ งเห็นว่ามันเป็นเรือ่ งไกลตัว ดังนัน้ สิทธิเสรีภาพ
ของสัตว์ จังเป็นวิวฒ ั นาการทีม่ นุษย์พยายามจะทำ�ให้เห็นว่าถูกต้องและมีความเป็นธรรม
อยูเ่ สมอ ซึง่ ความจริงอาจไม่ได้เป็นเช่นนัน้ ก็เป็นได้

องค์ความรู้จากงานวิจัย
งานวิจัยนี้ ดังที่ผู้วิจัยมีความประสงค์ เพื่อจะสรรค์สร้างมิติของการแสวงหา
สิทธิและเสรีภาพของสัตว์ซึ่งก็รวมถึงมนุษย์และมนุษย์ต่างดาวด้วย การให้คุณค่าทางชีวิต
มนุษย์จึงเกี่ยวเนื่องกับความเป็นปัจเจกของความจริงที่ต้องดำ�รงอยู่ภายใต้เงื่อนไขของ
การถูกบีบบังคับด้วย คำ�ครหา คำ�ติฉินนินทา การใส่ร้ายป้ายสี การสร้างความเดือดร้อน
ให้ผู้อื่น การมองแต่ตนเองว่าดี และการใช้อำ�นาจทางค่านิยมบีบคั้นให้มนุษย์หรือสัตว์รู้สึก
ด้อยค่าทางสังคม
มหาวิิทยาลััยมหาจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััย วิิทยาเขตเชีียงใหม่่
ผ่่านการรัับรองคุุณภาพจาก TCI (กลุ่่�มที่่� 2)
Journal of Prajna Ashram Vol.4 No. 2 | July - December 2022 31

พุทธเจคติเสรีวทิ ยา จึงเป็นการน้อมนำ�คำ�สอนของพระศาสดาแห่งพุทธศาสนา
หรือพระพุธเจ้า ด้วยการมองเห็นความจริงของความสุขทีไ่ ม่ใช่การเบียดเบียน เย้ยหยัน
ข่มแหง รังแก ดูถกู ดูหมิน่ แก่ผใู้ ด แต่ความสุขนัน้ ต้องการมาจากความรัก ความเข้าใจใน
มิตรภาพ ความน้อมนำ�คุณ ความกตัญญู ความรูจ้ กั ว่าเหตุใดควรไม่ควร และต้องเป็นความ
สุขสงบทีไ่ ม่สร้างสิง่ ปฏิกลู ในจิตใจของตนเองและผูอ้ น่ื ให้เกิดเป็นความบาดหมาง ซึง่ สุดท้าย
แล้วสัตว์กบั มนุษย์กม็ ติ า่ งกันในเรือ่ งของการเกิด แก่ เจ็บ และตาย

สรุป
กล่าวโดยสรุป สิทธิเสรีภาพ คือ การมีสิทธิและหน้าที่ในการพึงปฏิบัติให้
เป็นพระสงฆ์ที่ดี มีเมตตากรุณา ไม่อิจฉาริษยา เห็นผิดเป็นชอบ และเป็นแบบอย่างที่ดี
อยู่ในหลักการปกครองเพื่อความสุขสันติของสังคม พระสงฆ์เป็นแบบอย่างของสัตบุรุษ
หรือผู้ดี ในทิศทางของการให้ สละตนเอง เพื่อข่มคนชั่ว ปกป้องคนดี และการละเว้น
การเบียดเบียน การไม่เข่นฆ่าผู้อื่นทางจิตใจ ถือเป็นสิทธิเสรีภาพที่ดีก็จะเกิดขึ้นและเป็น
ประโยชน์สุขแก่มวลมนุษย์ชาติ
มนุษย์ คือสัตว์ประเภทหนึ่ง และมีวิวัฒนาการเพื่อการอยู่หรือดำ�รงชีพให้อยู่
รอด และมนุษย์เกิดมาโดยมีความประเสริฐ เป็นสิ่งที่สัตว์ประเภทอื่นไม่สามารถมีหรือ
เรียนรู้ได้ คือสติปัญญา และมนุษย์ก็คือสัตว์ ดังนั้น พฤติกรรมหรือวิวัฒนาการของสัตว์ จึง
สำ�คัญด้านเหตุผล การเรียนรู้เข้าใจระบบระเบียบทางความคิดที่ซับซ้อนต่อการตัดสินเพื่อ
สิทธิและเสรีภาพ
สิทธิเสรีภาพสวยงามหรือไม่ มนุษย์เองก็คงจะตอบว่ามันแสนจะเอร็ดอร่อย
อย่างกับว่า มนุษย์มีปัญญาในการทำ�ลายไวรัสที่เป็นบ่อเกิดของโรคร้ายของมนุษย์ ด้วย
เทคโนโลยีทางการแพทย์ที่ทันสมัยจากวิวัฒนาการ และมนุษย์ก็ยังมีปัญญาเพิ่มขึ้นกลาย
เป็นสัตว์ที่มีประโยชน์ต่อโลกใบนี้ได้

บรรณานุกรม
ฌอง ฌาคส์ รุสโซ. (2563). สัญญาประชาคม หรือ หลักแห่งสิทธิทางการเมือง. สมบูรณ์
ศุภศิลป์, แปล. กรุงเทพมหานคร : สำ�นักพิมพ์ทับหนังสือ.
เฮนรี่ เดวิด ธอโร. (2563). ต้านอำ�นาจรัฐและความเรียงสามชิน้ . พิมพ์ครัง้ ที่ 2. พจนา จันทร
สันติ, แปล. นนทบุรี : สำ�นักพิมพ์ภาพพิมพ์.
Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Chiang Mai Campus
Approve by TCI (Group 2)
32 วารสารปรััชญาอาศรม ปีีที่่� 4 ฉบัับที่่� 2 | กรกฎาคม - ธัันวาคม 2565

Suphaphol, S. (2014). Comparative Study of Levels of Explanation in Community


ContractingTheory of John Locke and Jean Jacques Russo. Bangkok:
Chulalongkorn University.
พระครูอนุกลู กัลยาณกิจ และคณะ. (2560). การบริโภคมังสะวิรตั ใิ นพระพุทธศาสนา. วารสารปัญญา
ปณิธา. 2 (2), 46.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโฺ ต). (2550). ประชาธิปไตยไม่ยากถ้าอยากได้. พิมพ์ครัง้ ที่ 1.
กรุงเทพมหานคร: พิมพ์สวยจำ�กัด.
สุทศั น์ ปึงศิรพิ ฒั นา. (2542). เจตจำ�นงเสรีและเหตุวสิ ยั ในพุทธปรัชญาเถรวาท. สืบค้นเมือ่ วันที่ 9
มิถนุ ายน 2565, จาก http://www.thaithesis.org/detail.php?id=1082542000433
พระมหานิกร ปโมทิโต และคณะ. (2563). เสรีภาพตามทัศนะของฌอง ฌากส์ รุสโซกับพุทธทาสภิกขุ.
วารสารสถาบันวิจยั พิมลธรรม. 7 (1), 130-131.
พระสมุหอ์ ดิเรก อาทิจจฺ พโล (โลกะนัง). (2561). พุทธจริยศาสตร์ทป่ ี ระยุกต์ใช้กบั มนุษย์และสิง่ มีชวี ติ อืน่ .
วารสารวิชาการธรรมทรรศน์. 18 (3), 5.
สุภาพรรณ ไกรเดช และวรรณวิสาข์ ไชยโย. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบั สัตว์ในทัศนะของ
ปีเตอร์ ซิงเกอร์,วารสารปณิธาน. 16 (2), 28.
John K.Roth and Frederick Sontag. (1988). The Questions of Philosophy.
California: Wadsworth Publishing.
พระมหาเอกกวิน ปิยวีโร (อะซิ่ม) และคณะ. (2563). การบูรณาการหลักสิทธิเสรีภาพ
เสมอภาคและภราดรภาพในวิถีทางประชาธิปไตย. วารสารพุทธสังคมวิทยา
ปริทรรศน์. 5 (2), 86.
อาภรณ์ รับไซ. (22 พฤษภาคม 2560). พฤติกรรมสัตว์ (Animal Behavior). สืบค้นเมือ่ 9 มิถนุ ายน
2565, จากhttps://www.scimath.org/lesson-biology/item/7042-animal-be-
havior
สถาบันนิติธรรมาลัย. (12 กันยายน 2562). หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาว
ไทย (มาตรา 25 - 49). สืบค้นเมื่อ 8 มิถุนายน 2565, จาก https://www.
drthawip.com/constitution/006
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (12 กันยายน 2562). หน่วยที่ 3 พระพุทธศาสนากับ
ประชาธิปไตย. สืบค้นเมือ่ 8 มิถนุ ายน 2565, จาก http://oldweb.mcu.ac.th/
mcutrai/menu2/Critical/03.htm

มหาวิิทยาลััยมหาจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััย วิิทยาเขตเชีียงใหม่่
ผ่่านการรัับรองคุุณภาพจาก TCI (กลุ่่�มที่่� 2)
Journal of Prajna Ashram Vol.4 No. 2 | July - December 2022 33

พระมหาบวรวิทย์ รตนโชโต (4 มกราคม 2563). กรรมของสัตว์โลก 4 ชนิด. สืบค้นเมื่อ.


22 เมษายน 2565, จาก https://goodlifeupdate.com/healthy-mind/
dhamma/46694.html
bbc.com. (17 มิถนุ ายน 2563). เอเลียนทีต่ ดิ ต่อสือ่ สารกับเราได้ อาจมีอย่างน้อย 36
อารยธรรมในทางช้างเผือก. สืบค้นเมือ่ 9 มิถนุ ายน 2565, จาก https://www.
bbc.com/thai/features-53061517
ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพือ่ การศึกษา. (16 พฤษภาคม 2564). ไวรัส (virus). สืบค้นเมือ่ 9 มิถนุ ายน
2565, จาก https://sciplanet.org/content/7914
digitalschool.club. (1 มิถนุ ายน 2565). จุลนิ ทรีย(์ microorganism). สืบค้นเมือ่ 9 มิถนุ ายน 2565,
จาก http://www.digitalschool.club/digitalschool/science1_2_2/science1/
more/microorganism_3_1.php

Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Chiang Mai Campus


Approve by TCI (Group 2)

You might also like