สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4
สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4 | |||||
---|---|---|---|---|---|
| |||||
ภาพรวม | |||||
สภานิติบัญญัติ | สภาผู้แทนราษฎร | ||||
เขตอำนาจ | ประเทศไทย | ||||
ที่ประชุม | พระที่นั่งอนันตสมาคม | ||||
วาระ | 6 มกราคม พ.ศ. 2489 – 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 | ||||
การเลือกตั้ง | การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มกราคม พ.ศ. 2489 การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป สิงหาคม พ.ศ. 2489 | ||||
รัฐบาล | คณะรัฐมนตรีควง 2 (2489) คณะรัฐมนตรีปรีดี 1 (2489) คณะรัฐมนตรีปรีดี 2 (2489) คณะรัฐมนตรีถวัลย์ 1 (2489-2490) คณะรัฐมนตรีถวัลย์ 2 (2490) | ||||
สภาผู้แทนราษฎร | |||||
สมาชิก | 274 | ||||
ประธาน | พระยามานวราชเสวี ตั้งแต่ 26 มกราคม พ.ศ. 2489 เกษม บุญศรี ตั้งแต่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2489 พึ่ง ศรีจันทร์ ตั้งแต่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2490 | ||||
รองประธาน | เดือน บุนนาค ตั้งแต่ 25 มกราคม พ.ศ. 2489 มงคล รัตนวิจิตร ตั้งแต่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2489 พระยาสุรพันธเสนี ตั้งแต่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2489 | ||||
นายกรัฐมนตรี | ควง อภัยวงศ์ ตั้งแต่ 31 มกราคม พ.ศ. 2489 ปรีดี พนมยงค์ ตั้งแต่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2489 ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ ตั้งแต่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2489 |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4 (6 มกราคม พ.ศ. 2489 - 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 178 คน โดยมาจากการเลือกตั้ง ซึ่งแบ่งเขต ครั้งแรกทั้งหมด 96 คน และ ครั้งที่สอง 82 คน จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มกราคม พ.ศ. 2489 และ การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป สิงหาคม พ.ศ. 2489
การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ครั้งแรก ถือเกณฑ์ราษฎร 200,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน และ ครั้งที่สอง ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 178 คน
สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดลง เนื่องจาก พลเอกผิน ชุณหะวัณ เข้ายึดอำนาจการปกครอง เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490
องค์ประกอบของสภา
[แก้]สภาผู้แทนราษฎรไทย ประกอบด้วยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
พรรค | จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | |
ผลการเลือกตั้ง (รวมผลทั้งสองการเลือกตั้ง) |
ณ วันสิ้นอายุสภา | |
ประชาธิปัตย์ | 62 | 51 |
สหชีพ | 58 | 50 |
แนวรัฐธรรมนูญ | 28 | 35 |
ประชาชน | 0 | 22 |
อิสระ | 20 | 19 |
ไม่ทราบพรรคการเมือง | 0 | 1 |
รวม | 178 | 178 |
ว่าง | - | - |
จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำแนกตามพรรค
[แก้]จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำแนกตามพรรค ณ วันสิ้นอายุของสภาผู้แทนราษฎร
พรรค | แบ่งเขต | รวม | |||||||
พระนคร | ธนบุรี | กลาง | เหนือ | อีสาน | ใต้ | ตะวันออก | ตะวันตก | ||
ประชาธิปัตย์ | 6 | 2 | 7 | 11 | 11 | 7 | 4 | 3 | 51 |
สหชีพ | 1 | - | 7 | 6 | 25 | 7 | 1 | 3 | 50 |
แนวรัฐธรรมนูญ | 1 | 2 | 8 | 3 | 14 | 2 | 4 | 1 | 35 |
ประชาชน | 1 | - | 5 | 2 | 6 | 4 | 3 | 1 | 22 |
อิสระ | 1 | 1 | 6 | 1 | 2 | 5 | 3 | - | 19 |
ไม่ทราบพรรคการเมือง | 1 | - | - | - | - | - | - | - | 1 |
รวม | 11 | 5 | 33 | 23 | 58 | 25 | 15 | 8 | 178 |
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
[แก้]ประเภทที่ 1
[แก้]สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ประเภทที่ 1 นับตั้งแต่การเลือกตั้งทั่วไปในเดือนมกราคม พ.ศ. 2489 และสิงหาคม พ.ศ. 2489 มีดังนี้[1]
ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ ออกจากตำแหน่ง |
พระนคร
[แก้]จังหวัด | เขต | รายนาม | พรรค | สมาชิกภาพ | หมายเหตุ |
พระนคร | 1 | โชติ คุ้มพันธ์ | พรรคประชาธิปัตย์ | ย้ายมาจาก พรรคก้าวหน้า | |
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช | พรรคประชาธิปัตย์ | เลือกตั้งเพิ่มเติม | |||
2 | พันตรีควง อภัยวงศ์ | พรรคประชาธิปัตย์ | |||
พระยาศรีวิสารวาจา | พรรคประชาธิปัตย์ | เลือกตั้งเพิ่มเติม | |||
3 | หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช | พรรคประชาธิปัตย์ | ย้ายมาจาก พรรคก้าวหน้า | ||
ร้อยตำรวจเอกภิเศก พรหมายน | พรรคประชาธิปัตย์ | เลือกตั้งเพิ่มเติม | |||
4 | รังสฤษดิ์ เชาวนศิริ | พรรคสหชีพ | |||
ร้อยตำรวจเอกอภัย สงเคราะห์ราษฏร์ | พรรคแนวรัฐธรรมนูญ | เลือกตั้งเพิ่มเติม | |||
5 | ขุนชำนิอนุศาสน์ (เส่ง เลาหะจินดา) | พรรคประชาชน | ย้ายมาจากพรรคสหชีพ | ||
ประสาท สุขุม | พรรคอิสระ | เลือกตั้งเพิ่มเติม | |||
6 | ดิเรก ชัยนาม | พรรคแนวรัฐธรรมนูญ | เลือกตั้งเพิ่มเติม/ลาออก | ||
อรุณ พันธุ์ฟัก | ไม่ทราบพรรคการเมือง | เลือกตั้งใหม่ |
ธนบุรี
[แก้]จังหวัด | เขต | รายนาม | พรรค | สมาชิกภาพ | หมายเหตุ |
ธนบุรี | 1 | สอ เสถบุตร | พรรคประชาธิปัตย์ | ย้ายมาจาก พรรคก้าวหน้า | |
เลื่อน ศราภัยวณิช | พรรคประชาธิปัตย์ | เลือกตั้งเพิ่มเติม | |||
2 | วิรัช พึ่งสุนทร | พรรคอิสระ | |||
สุเทพ รัตนเสวี | พรรคแนวรัฐธรรมนูญ | เลือกตั้งเพิ่มเติม | |||
3 | พร มลิทอง | พรรคแนวรัฐธรรมนูญ |
ภาคกลาง
[แก้]ภาคเหนือ
[แก้]ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
[แก้]ภาคใต้
[แก้]ภาคตะวันออก
[แก้]จังหวัด | เขต | รายนาม | พรรค | สมาชิกภาพ | หมายเหตุ |
จันทบุรี | 1 | อรัญ รายนานนท์ | พรรคประชาชน | ย้ายมาจากพรรคประชาธิปัตย์ | |
ฉะเชิงเทรา | 1 | กิจจา วัฒนสินธุ์ | พรรคประชาธิปัตย์ | ||
อุดร วัฒยานนท์ | พรรคประชาชน | เลือกตั้งเพิ่มเติม / ย้ายมาจากพรรคประชาธิปัตย์ | |||
ชลบุรี | 1 | ธรรมนูญ เทียนเงิน | พรรคอิสระ | ||
หม่อมเจ้านนทิยาวัด สวัสดิวัตน์ | พรรคแนวรัฐธรรมนูญ | เลือกตั้งเพิ่มเติม | |||
ตราด | 1 | หลวงอรรถพรพิศาล (อัมพร สูตะบุตร) | พรรคประชาชน | ย้ายมาจากพรรคสหชีพ | |
ปราจีนบุรี | 1 | ดุสิต บุญธรรม | พรรคสหชีพ | ||
ทองเปลว ชลภูมิ | พรรคแนวรัฐธรรมนูญ | เลือกตั้งเพิ่มเติม | |||
2 | จันทร โกมุทพงศ์ | พรรคแนวรัฐธรรมนูญ | เลือกตั้งเพิ่มเติม | ||
พระตะบอง | 1 | ชวลิต อภัยวงศ์ | พรรคประชาธิปัตย์ | ||
สวาสดิ์ อภัยวงศ์ | พรรคประชาธิปัตย์ | เลือกตั้งเพิ่มเติม | |||
2 | พระพิเศษพาณิชย์ | พรรคอิสระ | เลือกตั้งเพิ่มเติม | ||
พิบูลสงคราม | 1 | ประยูร อภัยวงศ์ | พรรคประชาธิปัตย์ | ||
ญาติ ไหวดี | พรรคแนวรัฐธรรมนูญ | เลือกตั้งเพิ่มเติม | |||
ระยอง | 1 | เสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์ | พรรคอิสระ |
ภาคตะวันตก
[แก้]จังหวัด | เขต | รายนาม | พรรค | สมาชิกภาพ | หมายเหตุ |
กาญจนบุรี | 1 | จำลอง ธนโสภณ | พรรคประชาชน | ย้ายมาจากพรรคประชาธิปัตย์ | |
ทอง สุดออมสิน | พรรคสหชีพ | เลือกตั้งเพิ่มเติม | |||
ตาก | 1 | เทียม ไชยนันทน์ | พรรคประชาธิปัตย์ | ||
ประจวบคีรีขันธ์ | 1 | หลวงอุปกรรัตถวิถี (สระ แสงชูโต) | พรรคสหชีพ | ||
เพชรบุรี | 1 | พันเอกพระยาสุรพันธเสนี (อิ้น บุนนาค) | พรรคประชาธิปัตย์ | ย้ายมาจาก พรรคก้าวหน้า | |
เยื่อ พลจันทร์ | พรรคสหชีพ | เลือกตั้งเพิ่มเติม | |||
ราชบุรี | 1 | เทียม ณ สงขลา | พรรคแนวรัฐธรรมนูญ | ||
ใย อุลิศ | พรรคประชาธิปัตย์ | เลือกตั้งเพิ่มเติม |
ประเภทที่ 2
[แก้]สืบเนื่องจากเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 ประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 กำหนดให้ยกเลิกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) ประเภทที่ 2 ที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง ทำให้ต้องมีการจัดการเลือกตั้งเพิ่มเติมขึ้น ในวันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2489
ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ ออกจากตำแหน่ง |
ผู้ดำรงตำแหน่ง
[แก้]ประธานสภาผู้แทนราษฎร พระยามานวราชเสวี (ออกจากตำแหน่ง พ.ศ. 2490) เกษม บุญศรี ดำรงตำแหน่งแทน (ออกจากตำแหน่ง พ.ศ. 2490) พึ่ง ศรีจันทร์ ดำรงตำแหน่งแทน
รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่หนึ่ง เดือน บุนนาค (ลาออก พ.ศ. 2489) มงคล รัตนวิจิตร ดำรงตำแหน่งแทน (ลาออก พ.ศ. 2489) พันเอกพระยาสุรพันธเสนี ดำรงตำแหน่งแทน
อ้างอิง
[แก้]- ↑ รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4
- ↑ ประเสริฐ สิทธิจิรพัฒน์, "นักการเมืองถิ่นจังหวัดนนทบุรี", สถาบันพระปกเกล้า, ชุดสำรวจเพื่อนประมวลข้อมูลนักการเมืองถิ่น, ธันวาคม 2553, เข้าถึงได้เมื่อ 4 ตุลาคม 2563[1]
- ↑ 3.0 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ตั้งซ่อมสมาชิกประเภที่ 2 แทนตำแหน่งที่ว่าง
- ↑ 4.0 4.1 ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ตั้งซ่อมสมาชิกประเภที่ 2 แทนตำแหน่งที่ว่าง
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ตั้งซ่อมสมาชิกประเภที่ 2 แทนตำแหน่งที่ว่าง
- ↑ ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ตั้งซ่อมสมาชิกประเภที่ 2 แทนตำแหน่งที่ว่าง